เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
Education Research Complete
Distributed Administration
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การเขียนผังงาน.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ภาษา SQL (Structured Query Language)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
คิวQueue Circular Queue.
Operating System ฉ NASA 4.
MySQL.
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
๕.๖ ส่วนประกอบของ DBMS ในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีการสอบถามหรือค้นหาคำตอบ รวมถึงการเพิ่มและการลบข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล.
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
The Relational Data Model
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
System Analysis and Design
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Geographic Information System
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การเขียนรายงาน.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
Software ซอฟต์แวร์.
Chapter 1 : Introduction to Database System
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล.
การค้นหาสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล

การออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูล (Designing Databases) มีความสำคัญต่อการจัดการระบบฐานข้อมูล (DBMS) ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลที่อยู่ภายในฐานข้อมูลจะต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ของข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลและกระบวนการที่โปรแกรมประยุกต์จะเรียกใช้ฐานข้อมูล ดังนั้น เราจึงสามารถแบ่งวิธีการสร้างฐานข้อมูลได้ 3 ประเภท

1. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical data model) เป็นวิธีการสร้างฐาน ข้อมูลแบบลำดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จำกัด ในปี 1980 ได้รับความนิยมมาก ในการพัฒนาฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง โดยที่โครงสร้างข้อมูลจะสร้างรูปแบบเหมือนต้นไม้ โดยความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหลาย (One- to -Many) ดังรูป แสดงโครงสร้างลำดับขั้นของผู้สอนทักษะผู้สอน หลักสูตรที่สอน

1. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น (ต่อ)

1. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น (ต่อ) การติดต่อของข้อมูลแบบลำดับขั้นจำเป็นจะต้องอาศัยตัวชี้ (Pointer) ซึ่งสามารถแบ่งตัวชี้ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ตัวชี้เซ็กเมนต์ที่เป็นตัวพึ่ง (Child Pointer) 2. ตัวชี้เซ็กเมนต์ระดับเดียวกัน (Twin Pointer)

1. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น (ต่อ) ข้อดีและข้อเสียของโครงสร้างแบบลำดับขั้น คือ สามารถสร้างความสัมพันธ์ให้เด่นชัดของข้อมูลแต่ละลำดับว่าข้อมูลเป็นเซ็กเมนต์ราก หรือเป็นพ่อแม่(Parent) และข้อมูลเป็นเซ็กเมนต์ตัวพึ่งหรือตัวลูก (Child) ส่วนข้อเสีย โครงสร้างแบบนี้มีความคล่องตัวน้อย เพราะต้องเริ่มอ่านจากเซ็กเมนต์ที่เป็นรากก่อน นอกจากนั้นการออกแบบฐาน ข้อมูลต้องระมัดระวังการซ้ำซ้อนของข้อมูล

2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมีความคล้ายคลึงกับฐาน ข้อมูลแบบลำดับชั้น ต่างกันที่โครงสร้างแบบเครือข่าย อาจจะมีการติดต่อหลายต่อหนึ่ง (Many-to-one) หรือ หลายต่อหลาย (Many-to-many) กล่าวคือลูก (Child) อาจมีพ่อแม่ (Parent) มากกว่าหนึ่ง สำหรับตัวอย่างฐานข้อมูลแบบเครือข่ายใหลองพิจารณาการจัดการข้อมูลของห้องสมุด ซึ่งรายการจะประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ ที่อยู่ ประเภทหนังสือ และปีที่พิมพ์ ดังนั้นการจัดข้อมูลแบบเก่าจะทำให้ข้อมูลซ้ำซ้อนกันมาก

2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ข้อดีและข้อเสียของโครงสร้างแบบเครือข่าย คือเรคอร์ดแต่ละประเภท สามารถใช้เป็นเรคอร์ดนำได้โดยกล่าวถึงก่อน ส่วนการซ้ำซ้อนของข้อมูลจะมีน้อยมากเนื่องจากเรคอร์ดสมาชิกสามารถใช้ร่วมกันได้ เช่น รายละเอียดของหนังสือหนึ่งเล่มอาจจะแต่งจากผู้แต่งหลายคน จึงสามารถใช้ร่วมกันได้ ข้อเสีย ความสัมพันธ์ของเรคอร์ดประเภทต่างๆไม่ควรจะเกิน 3 ประเภท เช่น ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ หากมีความสัมพันธ์หลายประเภท อาจจะออกแบบเครือข่ายไม่ได้หรือยุ่งยากขึ้น เนื่องจากมีข้อจำกัดในการออกแบบ

3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) เป็นลักษณะการออกแบบฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางที่มีระบบคล้ายแฟ้ม โดยที่ข้อมูลแต่ละแถว (Row) ของตารางจะแทนเรคอร์ด (Record) ส่วน ข้อมูลนแนวดิ่งจะแทนคอลัมน์ (Column) ซึ่งเป็นขอบเขตของข้อมูล (Field) โดยที่ตารางแต่ละตารางที่สร้างขึ้นจะเป็นอิสระ ดังนั้นผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึงตารางข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ เช่นระบบฐานข้อมูลบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย ตารางประวัติพนักงาน ตารางแผนกและตารางข้อมูลโครงการ แสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และตารางข้อมูลโครงการ

3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) (ต่อ) ข้อดีและข้อเสียของโครงสร้างแบบสัมพันธ์ คือ สามารถสร้างตารางข้นมาใหม่โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์และค้นหาว่าข้อมูลในฐานข้อมูลมีข้อมูลร่วมกับตารางที่สร้างขึ้นมาใหม่หรือไม่ ถ้ามีก็ให้ประมวลผลโดยการอ่านเพิ่มเติมปรับปรุงหรือยกเลิกรายการ ข้อเสีย คือ การศึกษาวิธีการเขียนโปรแกรมและใช้ฐานข้อมูลจะต้องอิงหลักทฤษฏีทางคณิตสาศตร์จึงทำให้การศึกษาเพิ่มเติมของผู้ใช้ ยากแก่การเข้าใจ แต่ในปัจจุบันมีโปรแกรมการสร้างฐานข้อมูลหลายโปรแกรมที่พยายามทำให้การเรียนรู้และการใช้ง่ายขึ้น เช่น โปรแกรมการสร้างฐานข้อมูลโดยใช้ภาษา SQL(Structured Query Language) เป็นต้น

แบบฝึกหัดเรื่อง การออกแบบฐานข้อมูล 1. การออกแบบฐานข้อมูล (Designing Databases) มีความสำคัญต่อการจัดการระบบฐานข้อมูลอย่างไร 2. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้นมีลักษณะอย่างไร 3. การติดต่อของข้อมูลแบบลำดับขั้นจำเป้นจะต้องอาศัยตัวชี้ (Pointer) ซึ่งสามารถแบ่งตัวชี้ออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง 4. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่ายมีลักษณะอย่างไร 5. จงบอกข้อดีและข้อเสียของโครงสร้างแบบเครือข่ายมา 5 ข้อ 6. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูลมีลักษณะอย่างไร 7. จงบอก ข้อดีและข้อเสียของโครงสร้างแบบสัมพันธ์ มา 5 ข้อ