สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
คู่มือการใช้งานระบบ e-office สพฐ. สำหรับ Admin
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สรุปผลการประชุมเชิงปฎิบัติ การ ตรวจสอบคุณภาพ การจัดการฐานข้อมูล 18 แฟ้ม วันที่ 30 มีนาคม 2552 ณ ห้องประชุม สสจ. น่าน.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การลงบันทึกกิจกรรมนวดไทย
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
ร้อยละความทันเวลา การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม แยกรายอำเภอ (เดือน ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) เกณฑ์>90%
การเตรียมความพร้อม ก่อนเข้าสู่ตำแหน่ง ตาม พ. ร. บ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
สาขาหัวใจ ปัญหากิจกรรมสถานบริการ 1. STEMIยาละลายลิ่มเลือดพจก. 2. NSTEMIตรวจ ECHO CARDIOGRAPHY และทำการตรวจสวนหัวใจ พจก. 3. CARDIAC ARRHYTHMIA และ VHD ได้รับยา.
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ประเด็นการตรวจราชการ
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
ชื่อตัวชี้วัด ชนิดตัวชี้วัด ( แบบปริมาณ / แบบ ขั้นตอน ) ประเภทตัวชี้วัด.....(
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
สถานการณ์ภาวะตาบอดในประเทศไทย
สรุปผลงานข้อมูลคุณภาพ
LOGO รายงาน ความก้าวหน้า การส่ง / นำเข้าข้อมูล 21 / 43 แฟ้ม.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
ระบบข้อมูลโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ครึ่งทางของโครงการสืบสานฯ หลักการ พระราชปณิธานสมเด็จย่า พระราชทาน เมื่อทรงก่อตั้งมูลนิธิถันยรักษ์ พ.ศ.2537 “ให้ช่วยผู้หญิงไทยพ้นภัยมะเร็งเต้านม ไม่ว่าเขาจะยาก.
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
สกลนครโมเดล.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1

โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
งานยาเสพติด.
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม

นโยบายนายแพทย์สาธารณสุข จังหวัดนครราชสีมา ปีงบประมาณ 2557

นโยบายข้อที่ 9 (ว่าด้วยเรื่อง มะเร็งเต้านม) นโยบายข้อที่ 9 (ว่าด้วยเรื่อง มะเร็งเต้านม)

9. มุ่งพัฒนาการค้นหา คัดกรอง มะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างมีคุณภาพ (3 ตัวชี้วัด) 22.ร้อยละของสตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี ตรวจ คัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และผ่าน การประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร้อยละ 90 23.ร้อยละของสตรีกลุ่มอายุ 30-70 ปี ที่ ตรวจพบมีความผิดปกติ ได้รับการส่ง ต่อเพื่อตรวจรักษา ร้อยละ 100 24.ร้อยละของสตรีอายุ 30-70 ปี มีและใช้ คู่มือ (สมุด) บันทึกการตรวจมะเร็งเต้านม ด้วยตนเองร้อยละ 90

บทบาทของ รพ.สต. /โรงพยาบาล

(กรณีที่คลำพบก้อนต้องรายงานให้ จนท.ทราบทันทีเพื่อส่งต่อรักษา) ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. รพ.สต./รพ.สอน อสม.เชี่ยวชาญเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง พร้อมแจกคู่มือการตรวจ ฯ 2. อสม.เชี่ยวชาญนำสมุดคู่มือ ฯ ไปแจกจ่ายให้กลุ่มเป้าหมายพร้อมสอนวิธีการตรวจ และตรวจสอบทุกสิ้นเดือน และรับรองข้อมูลทุกเดือน (กรณีที่คลำพบก้อนต้องรายงานให้ จนท.ทราบทันทีเพื่อส่งต่อรักษา)

3. ครบไตรมาส อสม.เชี่ยวชาญเก็บสมุดคู่มือ ฯ ในกลุ่มเป้าหมายส่งคืนเจ้าหน้าที่ทันที การนับไตรมาส ไตรมาสที่ 1 มกราคม - มีนาคม ไตรมาสที่ 2 เมษายน - มิถุนายน ไตรมาสที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน ไตรมาสที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม

หมายเหตุ ให้ รพ.สต. Key ข้อมูลลงใน Hosxp ไตรมาส ละ 1 ครั้งเท่านั้น 4. เจ้าหน้าที่นำสมุดคู่มือ ฯ ที่ อสม.เชี่ยวชาญนำส่ง เพื่อเอามาลงข้อมูลการตรวจใน Hosxp ให้ Key ในห้องโครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม ฯ เท่านั้น (ห้ามเก็บสมุดคู่มือไว้ที่ รพ.สต./รพ. ต้องคืนเจ้าของทุกครั้ง) หมายเหตุ ให้ รพ.สต. Key ข้อมูลลงใน Hosxp ไตรมาส ละ 1 ครั้งเท่านั้น (หากลงได้ทุกเดือน ก็สามารถทำได้)

5. รพ.สต./รพ. Upload ข้อมูลการ Key ใน Hosxp ได้ทันที หรือสามารถ Upload ไฟล์ popdata_exam.txt เข้าสู่ระบบ http://hpc4.go.th/bse/ โดยใช้รหัสสถานบริการในการ login ได้อีก 1 ช่องทาง

ให้พื้นที่ตรวจสอบข้อมูล แล้วแก้ไข และนำมาลงใหม่อีกครั้ง ตรวจสอบไฟล์ ขณะที่ Upload เข้าสู่ระบบทาง http://hpc4.go.th/bse/ อาจพบความผิดปกติ ให้พื้นที่ตรวจสอบข้อมูล แล้วแก้ไข และนำมาลงใหม่อีกครั้ง

Zip ไฟล์ แล้วส่งข้อมูลไปที่ สสอ. เป็นรายไตรมาส 6. รพ.สต./รพ. ให้ส่งออกไฟล์ 3 ไฟล์(ตามภาพประกอบ) ไปวางไว้ใน Folder ที่สร้างเอง โดยใช้ชื่อเป็นรหัสสถานบริการ เช่น 02698 Zip ไฟล์ แล้วส่งข้อมูลไปที่ สสอ. เป็นรายไตรมาส

7. สสอ. รวบรวมทั้ง Cup ส่ง สสจ. นม 7. สสอ. รวบรวมทั้ง Cup ส่ง สสจ.นม.ทาง E office ห้องโครงการสืบสาน ฯ เป็นรายไตรมาส

สสอ. สามารถนำไฟล์ ชื่อ popdata_exam สสอ.สามารถนำไฟล์ ชื่อ popdata_exam.txt Upload เข้าในระบบของมูลนิธิได้เช่นกัน

ให้พื้นที่ตรวจสอบข้อมูล แล้วแก้ไข และนำมาลงใหม่อีกครั้ง ตรวจสอบไฟล์ ขณะที่ Upload เข้าสู่ระบบทาง http://hpc4.go.th/bse/ อาจพบความผิดปกติ ให้พื้นที่ตรวจสอบข้อมูล แล้วแก้ไข และนำมาลงใหม่อีกครั้ง

การตรวจสอบผลการดำเนินงานรายไตรมาส

ผลงานจาก http://hpc4. go ผลงานจาก http://hpc4.go.th/bse/ ที่ได้รับการประมวลผลหลังจากที่ส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้วหลัง 24.ooน.

ผู้ที่คลำพบก้อนจะต้องได้รับการส่งต่อทันที เพื่อนำเข้าสู่ระบบการรักษา 100 % ต้องทำทันที

ผู้ป่วยที่คลำพบก้อนได้รับการส่งต่อ ครบ 100 %

ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่พบตั้งแต่เริ่มโครงการ พบผู้มีอาการผิดปกติ 4 ราย ส่งต่อ รพ. มหาราช รายที่ 1 อายุ 39 ปี ตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจ ---> ผลปกติ รายที่ 2 อายุ 35 ปี พบถุงน้ำในเต้านม ---> นัดทุก 1 ปี รายที่ 3 อายุ 47 ปี มี calcium ในกล้ามเนื้อ เต้านม ---> นัดทุก 6 เดือน รายที่ 4 อายุ 52 ปี เป็นมะเร็ง รักษาที่ รพ. ศรีนครินทร์ (ผู้ป่วยรับราชการ) รายที่ 5 อายุ 34 ปี ผ่าตัดที่รพ.มหาราช รับ เคมีบำบัด 2 ครั้ง เสียชีวิต เดือน พ.ย. 56 รายที่ 6 อายุ 46 ปี mammogram(st.mary) พบ ระยะที่ 3 ผ่าตัดที่ รพ.มหาราช รับยาในโครงการวิจัย รายที่ 7 อายุ 44 ปี ผ่าตัดที่ รพ.มหาราช รับเคมี บำบัดต่อ

ปัญหา แก้ได้ 2. ตรวจอย่างต่อเนื่องทุกเดือน หรือไม่? 1. ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง หรือไม่ 2. ตรวจอย่างต่อเนื่องทุกเดือน หรือไม่? 1. สุ่มประเมินและติดตามการใช้และ บันทึกในสมุดคู่มือทุกเดือน 2. เน้นย้ำในการประชุมประจำเดือนของ อส ม.ให้มีการกระตุ้นกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง 3. เรียนรู้จาก CASE ตัวอย่างที่ป่วย แก้ได้

คำถามที่คุ้นเคย จะให้ Key ข้อมูลตรงไหน คะ One Stop Service หรือ ใน Hosxp (โครงการ ฯ) หรือ Key ในบัญชี 6 จะให้ Key ข้อมูลทุกเดือน หรือ ทุกไตรมาส ? คำตอบ ในการคีย์ข้อมูลมะเร็งเต้านม 1 คน คีย์ 4 รอบ คือ รายไตรมาส

คำถามที่คุ้นเคย 2. ส่งออกข้อมูลตรงไหน คะ 21 แฟ้ม หรือ 43 แฟ้ม

คำถามที่คุ้นเคย 5. ฯลฯ 3. จะดูผลงานได้จากไหน ครับ ? 4. ส่งข้อมูลยังไง ช่วยสอนวิธีการส่งด้วยค่ะ 5. ฯลฯ

ปัญหาที่พบ 4. ไม่มีการดำเนินงานในที่ 5. มีข้อมูลแต่การส่งออกไม่ถูกต้อง มาประชุม แต่ไม่ครบวาระ ไปถ่ายทอดเรื่องราวไม่ครบถ้วน 3.ส่วนมากมักขอคำปรึกษาหลังจากที่ สสจ.ทวงงาน 4. ไม่มีการดำเนินงานในที่ 5. มีข้อมูลแต่การส่งออกไม่ถูกต้อง

การส่งออกข้อมูล รพ.สต. และโรงพยาบาลส่ง File popdata_exam.txt มาที่ สสอ.ซึ่งทำหน้าที่รวบรวมเป็นผลงานภาพ Cup ให้ รพ.สต./รพ.นำไฟล์ไป Upload ลงในระบบ ด้วย เพื่อมีการตรวจสอบข้อมูลพร้อม ๆ กัน Cup รวมรวม File popdata_exam.txt ส่งข้อมูลมาที่ E office โครงการสืบสานพระราชปณิธาน ฯ

คณะทำงานมะเร็งเต้านม สสจ.นครราชสีมา สวัสดี จัดทำโดย คณะทำงานมะเร็งเต้านม สสจ.นครราชสีมา