โรงเรียนจ่านกร้อง จ.พิษณุโลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานการทำแคลเซียมเจลลี่ ชาววัง กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน
Advertisements

โครงงานคอมพิวเตอร์.
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
ขนมเทียน โดย นางเทวี โพธิ์ไพจิตร ครูชำนาญการพิเศษ.
ขนมอบ จัดทำโดย เสนอ อ. มานะ ผิวผ่อง
สังขยาฝักทอง * ฟักทอง 1 ลูก (น้ำหนักประมาณ กรัม) * ไข่ 4 ฟอง
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
การเตรียมความพร้อมนักกำหนดอาหารไทยสู่ประชาคมอาเซียน
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
การถนอมอาหาร.
สบู่สมุนไพร.
อาหารไทย 4 ภาค.
กลุ่มโรงเพาะเห็ดและโรงหล่อเทียน
蛋糕 ขนมเค้กในเทศกาลตรุษจีน
เม็ดขนุนเคลือบช็อกโกแล็ต
หลักปฏิบัติ ๔ ประการ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
เมนูชูสุขภาพ วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
เด็กหญิงณัฐณิชา ด้วงคำวิชัย เลขที่ 24 โรงเรียนอนุบาลเมืองลำพูน
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
แครอท ไข่ เมล็ดกาแฟ.
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
น้ำเต้าหู้เพื่อสุขภาพ
ยุทธการสลายไขมันใน 10 วัน (10 Days Fat Burning Diet)
เรียนรู้จาก แครอท ไข่ และเม็ดกาแฟ
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
ผลิตภัณฑ์ยาหม่อง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่ม อ.จอย ผู้ประกอบการ ร้านอาหารขนมถ้วยยายป่น
ขนมต้มใบกระพ้อ.
ปริมาณการกินผัก(12 ช้อนโต๊ะ ต่อวัน)
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
กินพอดีไม่มีพุง แม้งานจะยุ่งก็ทำได้
ไข่ตุ๋น.
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
กินเท่าไหร่ ถึงจะพอดี
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ข้าวแต๋น.
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
เด็กชายสุภาณัต ทองแท้ เลขที่ 16 เด็กหญิงพฤษกรณ์ สิงมี เลขที่ 33 เด็กหญิงอรปรีญา หอมอุบล เลขที่ ๔๐ เสนอ อาจารย์ จริญญา ม่วงจีน.
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ welcome Next
อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2
กินตามกรุ๊ปเลือด.
นายวีระธัชกร กลิ่นขจร ครูสาขางานสัตวศาสตร์
料理 りょうり.
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
Rice in the cylinder. จัดทำโดย 1. นางสาว สุวนันท์อยู่ดี เลขที่ นางสาวอัยย์ลดามีบุตร เลขที่ 43 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3.
ส่วนผสมหน้าเค้ก นมเย็น
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
เรื่อง ข้าวเม่าทอด กลุ่มที่ 20 นางสาวรุจิรา เดชแฟง เลขที่ 22
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการมีงานทำ จังหวัดชุมพร.
ฉันชอบกินผลไม้ ฉันชอบกินกล้วย เนื้อนวล นุ่มหวาน อร่อยจังเลย.
เรื่อง วุ้นสายรุ้ง จัดทำโดย นางสาว ผการัตน์ มาคง เลขที่ 12
การอบแห้งข้าวที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารสกัดจากใบเตยด้วยวิธี ไมโครเวฟ
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียนจ่านกร้อง จ.พิษณุโลก วุ้นเต้าหู้ฟรุ้ตสลัด โรงเรียนจ่านกร้อง จ.พิษณุโลก

จุดมุ่งหมายของการศึกษา 1.เพื่อสร้างมูลค่าและคุณค่าเพิ่มของน้ำเต้าหู้ที่มีต่อสุขภาพของผู้บริโภค 2.เพื่อให้คนหันมานิยมบริโภคน้ำเต้าหู้กันมากขึ้นและเพื่อความสมบูรณ์ ทางโภชนาการต่อผู้บริโภค 3.เพื่อฝึกประสบการณ์ในการประกอบอาชีพ เป็นการใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์และเป็นการสร้างรายได้เพิ่มเติม

ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า การศึกษาค้นคว้านี้มุ่งทดลองใช้น้ำเต้าหู้เป็นวัตถุดิบสำคัญในการแปรรูปทำผลิตภัณฑ์อาหารโดยมีกลิ่นของน้ำเต้าหู้ลดลง มีรูปลักษณ์ใหม่แต่ยังคงคุณค่าทางอาหารครบถ้วน

วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ 1.น้ำเต้าหู้ 7.ภาชนะในการต้ม 1.น้ำเต้าหู้ 7.ภาชนะในการต้ม 2.ผลไม้ต่างๆ (แอปเปิล,ส้ม,องุ่น,มะละกอ,แคนตาลูป) 3.ผงวุ้นหรือเจลาติน 8.กระบวย,ช้อนสำหรับคน 4.น้ำผลไม้และกลิ่นผลไม้ 9.แม่พิมพ์วุ้น 5.น้ำตาลทราย 10.กล่องบรรจุภัณฑ์หรือPACKING 6.ตุ๊กตาน้ำตาล 11.เยลลี่สำหรับตกแต่ง

วิธีดำเนินการ ( ในจำนวน 5 แก้ว ) เตรียมน้ำเต้าหู้ในปริมาณ 4 ถ้วยตวง เตรียมน้ำเต้าหู้ในปริมาณ 4 ถ้วยตวง นำน้ำเต้าหู้ไปตั้งไฟ (ใช้ไฟปานกลาง เคี่ยวจนเดือด) เมื่อน้ำเต้าหู้เดือดแล้ว ก็ให้ใส่ผงวุ้นลงไป (ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะ) เคี่ยวโดยใช้ไฟปานกลางเช่นเดิม รอจนผงวุ้นที่ใส่ในน้ำเต้าหู้สุก เมื่อผงวุ้นสุกแล้ว ก็ใส่น้ำตาลทรายขาวลงไป เคี่ยวจนน้ำตาลละลาย

วิธีดำเนินการ(ต่อ) 6. ใส่น้ำใบเตยหรือสีจากธรรมชาติชนิดอื่นๆลงไปในหม้อวุ้นประมาณ ½ ถ้วย 7. เคี่ยวจนเนื้อวุ้นกลายเป็นเนื้อเดียวกัน 8. ยกหม้อวุ้นลงพักไว้ให้เนื้อวุ้นอุ่น 9. เทเนื้อวุ้นลงใส่แม่พิมพ์หรือภาชนะที่เตรียมไว้ 10. รอจนเนื้อวุ้นแข็งตัว แล้วนำวุ้นออกจากแม่พิมพ์ เตรียมจำหน่าย

สรุปผลการศึกษา หลังจากทดลองนำน้ำเต้าหู้มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆอาทิเช่น น้ำกะทิลอดช่อง,กล้วยบวชชีหรืออาหารคาว เช่น แกงพะแนง ต้มข่าไก่ เป็นต้น ในที่สุดก็มาลงตัวที่ “วุ้นเต้าหู้ฟรุ้ตสลัด” เพราะน้ำเต้าหู้สามารถนำมาผสมกับวุ้นได้ข้อนค่างดีกว่าอาหารหวานชนิดอื่น และเราสามารถดัดแปลงโดยผสมกลิ่นผลไม้ต่างๆลงไปในวุ้นได้ด้วย และรสชาติที่ออกมาอร่อยกว่าการนำน้ำเต้าหู้มาทำอาหารหวานหรืออาหารคาวอย่างอื่น

ประโยชน์ที่ได้รับ สามารถนำไปประกอบอาชีพได้ เพื่อส่งเสริมให้คนยุคใหม่หันมาสนใจและให้ความสำคัญกับสุขภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อเป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้บริโภค อาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก

ข้อเสนอแนะ ในการใส่ปริมาณของน้ำเต้าหู้มากเกินไป จะทำให้เกิดกลิ่นของถั่วเหลืองในวุ้น ควรใช้ผงวุ้นดีกว่าผงเจลาติน เพราะผงเจลาตินจะทำให้เนื้อวุ้นนิ่มเกินไป ควรใช้กลิ่นใบเตยดับกลิ่นเต้าหู้ดีกว่าการใช้กลิ่นสังเคราะห์ เพราะในกลิ่นสังเคราะห์จะทำให้ขนมมีกลิ่นหืน น้ำเต้าหู้นอกจากขนมหวานแล้ว ยังใช้แทนกะทิในการทำอาหานคาวได้ เช่น แกงเขียวหวาน แกงพะแนง ฯลฯ