การให้ข้อเท็จจริงในคดีปกครอง
รูปแบบการให้ ข้อเท็จจริง ในคดีปกครอง ผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดี พยาน การเข้าไปเกี่ยวข้องในคดีปกครอง รูปแบบการให้ ข้อเท็จจริง ในคดีปกครอง การทำคำให้การ การทำคำให้การเพิ่มเติม การให้ถ้อยคำ การส่งเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ให้ความเห็นในฐานะผู้เชี่ยวชาญ
คำให้การ ไม่มีแบบ ศาลอาจกำหนดประเด็นทำคำให้การ /ไม่กำหนดประเด็นก็ได้ แบบของศาลปกครอง แบบของศาลแพ่ง หนังสือราชการ บันทึก และมีหนังสือราชการปะหน้า ศาลอาจกำหนดประเด็นทำคำให้การ /ไม่กำหนดประเด็นก็ได้ อาจฟ้องแย้งในคำให้การ หรือฟ้องเป็นคดีใหม่ ส่งถึง.- อธิบดีศาลฯ หรือ ผู้อำนวยการสำนักงานศาลฯ
หลักกฎหมาย หลักปฏิบัติ ทำคำให้การโดยชัดแจ้งแสดงการ “ปฏิเสธ” หรือ “ยอมรับ”ข้อหา ที่ปรากฏใน “คำฟ้อง” “คำขอท้ายฟ้อง” และ “เหตุแห่งการนั้น พร้อมส่งพยานหลักฐานตามที่ตุลาการเจ้าของสำนวนกำหนด สำเนาคำให้การ-พยานหลักฐานรับรองสำเนาฯตามจำนวน หลักปฏิบัติ ให้ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย เหตุผลในการกระทำ “ที่แท้จริง”
ข้อสังเกต ศึกษาทำความเข้าใจคำฟ้อง ข้อเท็จจริง คำขอท้ายฟ้อง พยานหลักฐานท้ายคำฟ้อง ประเด็นที่ศาลกำหนด (ถ้ามี) ตรวจสอบเรื่องที่เป็นเหตุแห่งการฟ้องคดี ความเป็นมา ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย เหตุผลในการพิจารณาฯ รวบรวมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง อาจปรึกษาหารือฝ่ายกฎหมาย จัดทำคำให้การ คำให้การเพิ่มเติม ให้ข้อเท็จจริง ฯลฯ ใช้ถ้อยคำสุภาพ อย่าใช้ถ้อยคำเสียดสี ส่อเสียด ข่มขู่ ดูถูก ดูหมิ่น
การแสวงหาข้อเท็จจริงจากคำฟ้อง คำให้การฯ คำฟ้อง ฟ้องภายในกำหนดเวลา ทำคำให้การภายใน ๓๐ วัน หรือภายในเวลาที่ศาลกำหนด ทำคำคัดค้านคำให้การภายใน ๓๐ วัน หรือภายในเวลาที่ศาลกำหนด ทำคำให้การเพิ่มเติมภายใน ๑๕ วัน หรือภายในเวลาที่ศาลกำหนด ศาลอาจร่นหรือขยายได้ หากดำเนินการไม่ทัน ขอขยายเวลาต่อศาล
หากไม่ทำคำให้การภายในกำหนดเวลา หากดำเนินการไม่ทัน ให้ขออนุญาตต่อศาลขอขยายเวลา ไม่ทำคำให้การภายในกำหนด ถือว่าผู้ถูกฟ้องคดียอมรับ ข้อเท็จจริงตามข้อหา และให้ศาลพิจารณาต่อไปตาม อาจมีความผิดตามมาตรา ๑๗๐ ประมวลกฎหมายอาญา หากมีลักษณะประวิงคดี ไม่ร่วมมือ อาจถูกดำเนินการ “ทางวินัย”
คำคัดค้านคำให้การ ให้ผู้ฟ้องคดีทำคำคัดค้านคำให้การภายใน ๓๐ วัน อาจฟ้องแย้งในคำให้การ หรือฟ้องเป็นคดีใหม่ หากไม่ประสงค์จะทำคำคัดค้านคำให้การ แต่ประสงค์จะดำเนินคดีต่อไป ให้ผู้ฟ้องคดีแจ้งเป็นหนังสือให้ศาลทราบภายในกำหนดเวลา หากไม่ทำคำคัดค้านคำให้การ และไม่แจ้งต่อศาลว่าประสงค์จะดำเนินคดีต่อไป “ศาลจะสั่งจำหน่ายคดีก็ได้”