รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
Free Trade Area Bilateral Agreement
การประยุกต์ใช้งานความถี่ ครั้งที่1
เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
ผู้จัดการฝ่ายขายมืออาชีพ (Professional Sales Manager)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
The National Telecommunications Commission สัมมนาเรื่อง “มาตรการส่งเสริมอุตสาหกรรมโทรคมนาคมโดยกทช” ดำเนินการอภิปรายโดย ศาสตราจารย์ ประสิทธิ์ ประพิณมงคลการ.
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ประเทศไทยจะผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ที่มีคุณภาพ, มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีมูลค่าส่งออกมากกว่า 4 แสนล้านบาทต่อปี
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
โครงการ พัฒนางาน 5 ส ภายใต้โครงการพัฒนาบุคลากรสู่องค์กรแห่ง ความสุข.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ภาพรวมของอุตสาหกรรม โทรคมนาคมไทย และ แนวทางในการส่งเสริม อุตสาหกรรมโทรคมนาคม นายกุลิศ สมบัติศิริ รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ 10 กุมภาพันธ์ 2548

หัวข้อการบรรยาย การพัฒนาด้านโทรคมนาคมของประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมา แนวโน้มอุตสาหกรรมโทรคมนาคมโลก แนวทางในการส่งเสริมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม

40 ปี ที่ผ่านมารัฐวิสาหกิจลงทุน รวม 2.52 ล้านล้านบาท การลงทุนด้านโทรคมนาคม 40 ปี ที่ผ่านมารัฐวิสาหกิจลงทุน รวม 2.52 ล้านล้านบาท เป็นการลงทุนด้านโทรคมนาคมประมาณ 0.24 ล้านล้านบาท (9%)

Fixed Mobile Substitution จำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจำที่ และโทรศัพท์เคลื่อนที่ (2536 – 2548) ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพิ่มขึ้นจาก0.41 ล้านราย ในปี 2535 เป็น 30.10 ล้านราย ในปี 2548 ขยายตัวอย่างก้าวกระโดดในปี 2544 – 2545 ถึงกว่า 100% ? Fixed Mobile Substitution ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจำที่ เพิ่มจาก 2.21 ล้านราย ในปี 2536 เป็น 7.02 ล้านราย ในปี 2548 ตลาดเริ่มอิ่มตัว

จำนวนเลขหมายโทรศัพท์ประจำที่ต่อประชากร มีความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการโทรศัพท์ประจำที่ของเขตนครหลวงกับเขตภูมิภาคถึง 6.7 เท่า ในปี 2547

รายได้ต่อเลขหมายต่อเดือน โทรศัพท์ประจำที่ ลดลงเล็กน้อย 666 บาท 633 บาท โทรศัพท์เคลื่อนที่ ลดลงอย่างเห็นได้ชัด 876 บาท 455บาท

จำนวนผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต

การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่

สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD)

สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD) Total Expenditure on R&D (% of GDP) (2002)

สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD)

สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD) ดุลการชำระเงินด้านเทคโนโลยี (% of GDP) (2542)

สรุปผลการพัฒนาที่ผ่านมา ผู้บริโภคนิยมใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนอาจทดแทนบริการโทรศัพท์ประจำที่ได้ในอนาคต (Fixed Mobile Substitution) มีการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่งผลให้ ARPU ลดลงอย่างต่อเนื่อง บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้รับความนิยมและขยายตัวอย่างก้าวกระโดด ยังคงมีความเหลื่อมล้ำของการเข้าถึงบริการโทรคมนาคมระหว่างเขตนครหลวงกับเขตภูมิภาค (Digital Divide) ขาดดุลการชำระเงินด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่จะขาดดุลเพิ่มมากขึ้น

แนวโน้มอุตสาหกรรม โทรคมนาคมโลก

แนวโน้มอุตสาหกรรมโทรคมนาคมโลก ปี 2546 1 ล้านล้านดอลลาร์ ปี 2551 1.35 ล้านล้านดอลลาร์

โทรศัพท์ประจำที่ จำนวนผู้ใช้บริการและ ARPU มีแนวโน้มลดลง ผู้บริโภคจะใช้มือถือ และVoIP แทนโทรศัพท์ประจำที่มากขึ้น

โทรศัพท์เคลื่อนที่ จะมีการแข่งขันกันมากขึ้น แม้ว่าจะมีผู้ใช้เพิ่มขึ้นแต่ ARPU ลดลง (Prepaid) มีการใช้บริการ Data (Mobile Internet) มากขึ้น (3G) MVNOs จะมีมากขึ้นใน หลายภูมิภาคของโลก WiMAX อาจยังมีข้อจำกัด ทางเทคนิคในการให้บริการ

แนวโน้มอุตสาหกรรม ของ ประเทศไทย

โทรศัพท์ประจำที่ คาดว่าจะมีจำนวนเลขหมายโทรศัพท์ประจำที่เพิ่มขึ้นจาก 6.85 ล้านเลขหมาย ในปี 2544 เป็น 7.24 ล้านเลขหมาย ในปี 2551 เพิ่มขึ้น 2.4% ต่อปี

ตลาดเริ่มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว โทรศัพท์เคลื่อนที่ ตลาดเริ่มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว Prepaid ARPU ปี 2548 31.18 ล้านเลขหมาย ปี 2552 36.65 ล้านเลขหมาย

โทรศัพท์เคลื่อนที่ (รายได้บริการเสียงและข้อมูล) Data Revenue Growth 102% per annual

อินเทอร์เน็ต

สรุปแนวโน้มอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจำที่และโทรศัพท์เคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง ในขณะที่ FMS จะมีมากขึ้น ARPU จะลดลงต่อเนื่อง เพราะการแข่งขันด้านราคาในตลาดโทรศัพท์มือถือยังคงมีต่อเนื่อง และอาจรุนแรงมากขึ้น จากการลงทุน 3G ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่จะใช้บริการข้อมูลมากขึ้น ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตจะขยายตัวอย่างต่อเนื่องในอ้ตราเฉลี่ยสูงกว่า 20%

แนวทางและเป้าหมายการพัฒนาตามแผนแม่บทฯ กลไกความร่วมมือทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และต่างประเทศ มีมาตรฐานและลักษณะ พึงประสงค์ทางเทคนิค ส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม มีหลักเกณฑ์การบริหารกองทุน พัฒนากิจการโทรคมนาคม ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเป็นหน่วย ตรวจสอบและรับรอง มาตรฐานอุปกรณ์ มีต้นแบบอุปกรณ์และเทคโนโลยี โทรคมนาคม มีหน่วยตรวจสอบมาตรฐานฯ ภาคเอกชน ส่งเสริมการจัดทำมาตรฐาน และลักษณะพึงประสงค์ ทางเทคนิคของอุปกรณ์

การเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์ภายหลังจากมีแผนแม่บทฯ สัญญลักษณ์การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ (การแข่งขันอย่างเสรีเป็นธรรมในระบบ) ความพร้อมใน การรองรับ แรงผลักดันจาก เวทีโลกและ FTA เปลี่ยนวิธี การทำงาน การพัฒนาอุตสาหกรรม โทรคมนาคมในยุคการค้าเสรี ระบบอุตสาหกรรม การกำกับดูแลที่ดี การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โครงสร้างราคาที่เป็นธรรม (Good Governance) (HRD) (Cost Structures)

ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ประเมิน สถานะปัจจุบัน กำหนด วิสัยทัศน์ เป้าหมาย การพัฒนา Product Champion แนวทาง ดำเนินงาน ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง บุคลากร ภาครัฐ องค์กร กำกับดูแล (กทช.) สถาบันวิชาการ/ การศึกษา NGOs ผู้ให้บริการ ผู้ผลิตอุปกรณ์ มุ่งเน้นการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม โทรคมนาคม และพัฒนาศักยภาพเพิ่ม ขีดความสามารถบุคลากรโทรคมนาคม รวมทั้งสร้างความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชน และต่างประเทศ โดยใช้กลไกกองทุน พัฒนากิจการโทรคมนาคมฯ และมาตรการจูงใจ ทั้งในรูปของตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน