ขอบข่ายของการสื่อสารสุขภาพ Points of view of public health การรณรงค์ (Communication campaign) การสร้างกระแส/เรียกร้องผ่านสื่อ (Media Advocacy) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Points of view of public health Political context of public health The tension value underlying public health: exceptionalism-universalism dichotomy Prevention, primary mission of public health Community participation and self-determination as a strategy for change ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Political context of public health งานใคร? Science and medicine Public health activists Politician ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
The tension value underlying public health: exceptionalism-universalism dichotomy Exceptionalism: Blaming the victim; failures of individuals Universalistic position: System failures ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Prevention, primary mission of public health ป้องกันไม่ให้เกิดเหยื่อหน้าใหม่ ดีกว่าเยียวยาเหยื่อปัจจุบัน?! Across many levels society: individuals, families, communities, and the broader social and economic environment ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การสื่อสารสุขภาพคือ เครื่องมือสำคัญของ public health การสื่อสารสุขภาพแนว exeptionalism ใช้เครื่องมือหลักคือ communication campaign การสื่อสารสุขภาพแนว universalistic ใช้เครื่องมือหลักคือ media advocacy ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Communication Campaign Exceptionalism paradigm นิยาม: ชุดกิจกรรมการสื่อสารที่ได้รับการออกแบบและวางแผนไว้ล่วงหน้า มีเป้าหมายเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบของการรณรงค์ Collective source A set of communication activities Planning & evaluation Designed Targeted Individualistic or societal change ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Communication Campaign ความหลากหลายของคำที่ใช้ Campaign Communication Campaign Media Campaign Public Information Campaign Mass Mobilization Campaign Mass Campaign Media-Based Campaign Health Communication Campaign ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Communication Campaign Levels of Objectives To inform To persuade To mobilize Locus of Change Individual Community Society Locus of Benefit Commercial Political Social ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Communication Campaign Media Media planning Audience and media analysis Media selection Budgeting Media production Old media New media Media evaluation ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Communication Campaign Message Design “There is nothing so practical as a good theory” (Kurt Lewin) Theory-driven approach: Linguistics theories and motivation Decision making approach Social cognitive theory Fear appeal Using positive affect Others (4 typologies: Source, message, channel Typology; Message-based and behavioral-based typology; Directive and dynamic typology; Behavioral systems typology) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Message Design Linguistics theories and motivation ถ้อยคำมีผลต่อ target audience ในการจำ concepts บาง concepts (Parrot, 1995) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Message Design Decision-making approach to message design (Holtgrave, Tinsley, & Kay, 1995) Stages of Change (SOC) Precontemplative (PC) Contemplative (C) Preparative (P) Action (A) Maintenance (M) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Message Design Bandura’s Social Cognitive Theory (SCT) Personal factors: knowledge, skills, self-efficacy, outcome expectations, personal goals Environmental factors: social, institutional, physical Behavior: Frequency, consistency, other relevant aspects ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Message Design Fear Appeal Problem-solution format นิยาม: Vivid content that’s negatively framed 2 components: Threat component สร้างความรู้สึก vulnerable or susceptible Action component: personal efficacy, response efficacy ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Message Design Thinking Positively: Using Positive Affect Humor กรณี familiar Emotional benefit appeals ในกรณี unfamiliar Comparison Demonstration Satisfaction Testimonials ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ขั้นตอนการวางแผนรณรงค์ Reviewing realities Examining ethics Conducting formative research Target segmentation and teasing out target the themes Constructing the communications Implementation Evaluation and reorientation ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Research on Communication Campaign All level of analysis: individual; institutional; societal ผลกระทบของการรณรงค์เกิดที่ระดับปัจเจก การรณรงค์เกี่ยวข้องกับการสื่อสารตั้งแต่ระดับ interpersonal ไปจนถึง social network ในระดับสถาบัน การวิจัยการรณรงค์สนใจประเด็นโครงสร้างและหน้าที่ของชุมชน ในระดับ macro สนใจประเด็นโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการและผลการรณรงค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Media Advocacy Definition: Purpose: A part of a strategy to exert pressure on those whose decisions influence that environment A strategy that uses the mass media appropriately, aggressively, and effectively to support the development of healthy public policies Purpose: To use the media strategically to apply pressure for changes in policy to promote public health goals ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Doing Advocacy ข้อมูลคือสิ่งสำคัญ Strong and credible data base เพื่อสร้าง argument Advocacy can be threatening If there is no struggle, there is no progress คนทำงานต้องพบกับแรงเสียดทานและความร้าวฉาน งานหลักคือ strategic planning, decision making, education, and lobbying การตั้งเป้าหมายมีความสำคัญ เพื่อให้เห็นทิศทางชัดเจน Unifying theme มีประเด็นที่จะจัดการชัดเจน เป้าอยู่ที่ policy change ไม่ใช่ media coverage ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การทำงานกับสื่อ ข่าวและอุตสาหกรรมข่าว Status conferral and legitimacy Media กระตุ้นการถกเถียงอภิปรายของสาธารณะ Agenda-setting and public attention Policy agenda Media agenda Public agenda การเรียกร้องผ่านสื่อคือการใช้สื่อเพื่อ set health policy agenda ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การทำงานกับสื่อ Framing Telling the audience what is important to know about the story สื่อทำงานเสนอ issue to think about ไม่พอ ต้องเสนอ how to think about the issue ด้วย Frames create meaning Frame 2 ประเภท Episodic: event oriented, specific, and concrete Thematic: issue oriented, general, and abstract ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Key Elements of Media Advocacy Setting the agenda: Framing for access Shaping the story to get the attention จากสื่อ Shaping the debate: Framing for content เล่าเรื่องอย่างที่มันควรจะถูกเล่า เน้นที่รากเหง้าและต้นตอของปัญหา Advancing the policy ถ้าทำ 2 อย่างแรกสำเร็จ policy change ก็สำเร็จ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ กันภัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย