บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
2.5 Field of a sheet of charge
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
เงิน.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
Ultrasonic sensor.
ลำโพง (Loud Speaker).
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน
หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ.
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หน่วยที่ 4 วงจรกรองความถี่
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
พีระมิด.
การหาดิวตี้ ไซเคิล (Duty cycle)
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
Electronic Circuits Design
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
หลักการบันทึกเสียง.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
Electronic Circuits Design
FPM DRAM ( Fast Page Mode DRAM ) เป็น แรมรุ่นเก่าแก่ใช้เทคโนโลยีที่ผลิตมานานหลาย ปี พบได้ในเครื่อง 286 มีโมดูลแบบ SIMM ขนาด 30 ขา และ 72 ขา ใช้กับเครื่องรุ่นเก่า.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ ผู้เฉลย นายสายยันต์ กันอินทร์

แบบฝึกหัดที่ 1.1 จากรูป จงหาส่วนประกอบคลื่นพัลส์ดังต่อไปนี้ E (v) 15 จากรูป จงหาส่วนประกอบคลื่นพัลส์ดังต่อไปนี้ E (v) 15 10 5 T (μs) 4 8 12 16 20 24 28 32

ความกว้างพัลส์ (tp) = 8 μs – 4 μs = 4 μs ช่องว่างพัลส์(ti) = 12 μs – 8 μs = 4 μs ช่วงเวลาเกิดพัลส์ซ้ำ(prt) = (tp + ti) = 4 μs – 4 μs = 8 μs อัตราการเกิดพัลส์ซ้ำ(prr) = = = = 0.125 x 10 Hz หรือ 125 KHz 1 prt 1 8 μs 1 8 x 10 -6 1x 10 8 6 6

แรงดันสูงสุดของพัลส์(Ep) = 15 V แรงดันเฉลี่ยของพัลส์(Eav) = (tp x Ep) = ( 4 μs x 15 V ) prt 8 μs = 60 V 8 = 7.5 V ดิวตีไซเคิล(Duty Cycle) = Eav x 100 % = 7.5 V x 100% Ep 15 V = 50 %

แบบฝึกหัดที่ 1.2 จากรูปคลื่นดิฟเฟอเรนติเอเตด จงหาค่าเปอร์เซ็นต์อัตราส่วนความลาดเอียง (%P) เมื่อคลื่นมีความถี่ 10 KHz และช่วงเวลาเอียง(tt)

30 20 10 Ep -10 -20 -30 tt

วิธีทำ จาก P = E1 – E2 Ep 2 P = 30 V – 20 V = 10 V = 0.5 40 V 20 V เพราะฉะนั้น %P = 0.5 x 100 % = 50 %

เพราะฉะนั้น tp = T = 100 μs = 50 μs 2 2 f เมื่อ f = 10KHz T = 1 = 100 μs 10X10 Hz เพราะฉะนั้น tp = T = 100 μs = 50 μs 2 2 ดังนั้น tt = tp = 50 μs = 100 μs P 0.5 3

แบบฝึกหัดที่ 1.3 วงจรเชิงเส้นหนึ่งประกอบด้วยตัวต้านทาน50k Ω ต่ออนุกรมกับตัวเก็บประจุ 0.5 μF จงหาเวลาคงที่ วงจร RC วิธีทำ จาก τ = RC = 50 k x 0.5 μ = (50 x 10) x (0.5 x 10) = 25 x 10 τ = 25 ms 3 -6 -3

แบบฝึกหัดที่ 1.4 วงจรไฟฟ้าหนึ่งประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำ 60 mH ต่ออนุกรมกับตัวต้านทาน 200 Ω จงหาค่าเวลาคงที่ วงจร RL วิธีทำ จาก τ = L R = 60 m = (60 x 10) 200 200 τ = 0.3 x 10 หรือ 300 x 10 หรือ τ = 300 μs -3 -3 -6

แบบทดสอบท้ายบทที่ 1 X X X จงพิจารณาเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. ลักษณะสัญญาณที่ถูกกำหนดขึ้นมาตามธรรมชาติและนำไปใช้งานอย่างกว้างขวางและแพร่หลายคือคลื่นชนิดใด ก) ไซน์ ข) พัลส์ ค) สี่เหลี่ยม ง) อินติเกรต 2.คลื่นที่เกิดจากการผสมคลื่นหลายชนิดเข้าด้วยกัน คือคลื่นชนิดใด ก) ไซน์ ข) เอียง ค) ขั้นบันได ง)สามเหลี่ยม 3.คลื่นสี่เหลี่ยมเกิดขึ้นได้จากการผสมคลื่นใดเข้าด้วยกัน ก) ไซน์ ข) เอียง ค) ขั้นบันได ง) เอกซ์โพเนเชียล แบบทดสอบท้ายบทที่ 1 X X X

X 4. คลื่นพัลส์กับคลื่นสี่เหลี่ยมแตกต่างกันในส่วนใด 4. คลื่นพัลส์กับคลื่นสี่เหลี่ยมแตกต่างกันในส่วนใด ก) ขนาดความแรงคลื่น ข) ความลาดเอียงคลื่น ค) ความถี่ของคลื่นที่เกิดขึ้น ง) ช่วงเวลาเกิดคลื่นเทียบกับช่วงช่องว่างคลื่น จากรูปต่อไปนี้ใช้ตอบคำถาม ข้อ 5 – 10 X E(v) 40 20 t(ms) 5 10 15 20 25 30 35 40

X X X X X X 5.ช่วงเวลา tP ของคลื่นมีค่าเท่าไร ก) 5 ms ข) 10 ms ค) 15 ms ง) 20 ms 6.ช่วงเวลา prt ของคลื่นมีค่าเท่าไร ก) 10 ms ข) 20 ms ค) 30 ms ง) 40 ms 7.ค่า prr ของคลื่นมีค่าเท่าไหร่ 50 Hz ข) 100 Hz ค) 150 Hz ง) 200 Hz 8.แรงดัน E av ของคลื่นมีค่าเท่าไร่ ก) 10 V ข) 15 V ค) 20 V ง) 25 V 9.ที่เวลา 20 ms ถูกเรียกว่าอะไร ก) ขอบขาขึ้น ข) ขอบขาลง ค) ช่องวางพัลส์ ง) ความกว้างพัลส์ 10.ช่วงเวลา 20 – 30 msถูกเรียกว่าอะไร ช่องว่างพัลส์ ข) ความกว้างพัลส์ ค) อัตราการเกิดพัลส์ซ้ำ ง) ช่วงเวลาเกิดพัลส์ซ้ำ X X X X X X