ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
บทที่ 8 Power Amplifiers
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
Bipolar Junction Transistor
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
8. ไฟฟ้า.
ภาควิชา วิศวกรรมโลหการ
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
COMPUTER.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ลำโพง (Loud Speaker).
หน่วยความจำ (Memory Unit)
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
เทคโนโลยีด้านพลังงาน
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
Touch Screen.
หม้อแปลง.
การแปรผันตรง (Direct variation)
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
โฟโตไดโอด (PHOTODIODE)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
เตารีด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถหยิบยกได้ ให้ความร้อนแผ่นฐานด้วยไฟฟ้าและใช้สำหรับรีดวัสดุสิ่งทอให้เรียบ ปัจจุบันมีการนำเอาสารเคลือบ เทฟลอนมาเคลือบแผ่นฐาน.
เตาไฟฟ้า.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เครื่องดูดฝุ่น.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ไดร์เป่าผม.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Electronics for Analytical Instrument
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
Magnetic Particle Testing
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
งานเครื่องล่างรถยนต์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ตัวต้านทานไฟฟ้า (Resistor)
Resistors on PCB Resistors (axial components with color bands.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร ชนิดของตัวต้านทาน แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดคือ ตัวต้านทานชนิดค่าคงที่ 2. ตัวต้านทานชนิดปรับค่าได้ 3. ตัวต้านทานชนิดพิเศษอื่น ๆ

ตัวต้านทานแบบค่าคงที่ ตัวต้านทานชนิดค่าคงที่มีหลายประเภท ที่นิยมในการนำมาประกอบใช้ในวงจรทางด้านอิเล็กทรอนิกส์โดยทั่วไปมีดังนี้ 1. ตัวต้านทานชนิดคาร์บอนผสม (Carbon Composition) เป็นตัวต้านทานที่นิยมใช้กันแพร่หลายมาก มีราคาถูก โครงสร้างทำมาจากวัสดุที่มีคุณสมบัติเป็นตัวต้านทานผสมกันระหว่างผงคาร์บอน และผงของฉนวน อัตราส่วนผสมของวัสดุทั้งสองชนิดนี้จะทำให้ค่าความต้ายทานมีค่ามากน้อย เปลี่ยนแปลงได้ตามต้องการ บริเวณปลายทั้งสองด้านของตัวต้านทานต่อด้วยลวดตัวนำ บริเวณด้านนอกของตัวต้านทานจะฉาบด้วยฉนวน

2. ตัวต้านทานแบบฟิล์มโลหะ ( Metal Film) ตัวต้านทานแบบฟิล์มโลหะทำมาจากแผ่นฟิล์มบางของ แก้วและโลหะหลอมเข้าด้วยกันแล้วนำไปเคลือบที่เซรามิค ทำเป็นรูปทรงกระบอก แล้วตัดแผ่นฟิล์มที่เคลือบออกให้ได้ค่าความต้านทานตามที่ต้องการ ขั้นตอนสุดท้ายจะทำการเคลือบด้วยสารอีป๊อกซี (Epoxy) ตัวต้านทานชนิดนี้มีค่าความผิดพลาดบวกลบ 0.1% ถึงประมาณบวกลบ 2% ซึ่งถือว่ามีค่าความผิดพลาดน้อยมาก นอกจากนี้ยังทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจากภายนอกได้ดี สัญญาณรบกวนน้อยเมื่อเทียบกับตัวต้านทานชนิดอื่น ๆ

3. ตัวต้านทานแบบฟิล์มคาร์บอน ( Carbon Film)

4. ตัวต้านทานแบบไวร์วาวด์ (Wire Wound) โครงสร้างของตัวต้านทานแบบนี้เกิดจากการใช้ลวดพันลง บนเส้นลวดแกนเซรามิค หลังจากนั้นต่อลวดตัวนำด้านหัวและท้ายของเส้นลวดที่พัน ส่วนค่าความต้านทานขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ทำเป็นลวดตัวนำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนเซรามิคและความยาวของลวดตัวนำ ขั้นตอนสุดท้ายจะเคลือบด้วยสารประเภทเซรามิคบริเวณรอบนอกอีกครั้งหนึ่ง ค่าความต้านทานของตัวต้านทานแบบนี้จะมีค่าต่ำเพราะต้องการให้มีกระแสไหลได้ สูง ทนความร้อนได้ดี สามารถระบายความร้อนโดยใช้อากาศถ่ายเท

5. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มหนา ( Thick Film Network) โครงสร้างของตัวต้านทานแบบนี้ทำมาจากแผ่นฟิล์มหนา มีรูปแบบแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการใช้งาน ในรูปแสดงตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มหนาประเภทไร้ขา (Chip Resistor) ตัวต้านทานแบบนี้ต้องใช้เทคโนโลยี SMT (Surface Mount Technology) ในการผลิต มีอัตราทนกำลังประมาณ 0.063 วัตต์ ถึง 500 วัตต์ ค่าความคลาดเคลื่อนบวกลบ 1% ถึง บวกลบ 5%

6. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มบาง ( Thin Film Network) โครงสร้างของตัวต้านทานแบบนี้ทำมาจากแผ่นฟิล์มบาง มีลักษณะรูปร่างเหมือนกับตัวไอซี (Integrate Circuit) ใช้เทคโนโลยี SMT (Surface Mount Technology) ในการผลิตเช่นเดียวกับตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มหนา โดยส่วนใหญ่จะมีขาทั้งหมด 16 ขา การใช้งานต้องบัดกรีเข้ากับแผ่นลายวงจร อัตราทนกำลัง 50 มิลลิวัตต์ มีค่าความคลาดเคลื่อนบวกลบ 0.1% และอัตราทนกำลัง 100 มิลลิวัตต์ จะมีค่าความคลาดเคลื่อนบวกลบ 5% ที่แรงดันไฟฟ้าสูงสุดไม่เกิน 50 VDC

ตัวต้านทานชนิดปรับค่าได้ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด 1. แบบรีโอสตัล จะเป็นลักษณะการปรับค่าแบบเคลื่อนที่เป็นแนวตรงและบางครั้งก็เป็นลักษณะการปรับแบบเคลื่อนที่เป็นวงกลม อุปกรณ์ที่นำมาใช้สร้างเป็นความต้านทานภายในตัวรีโอสตัลมีหลายชนิด แต่ที่ได้รับความนิยมจะใช้ไวร์วาวด์และแถบคาร์บอน

2. แบบโพเทนชิโอมิเตอร์ บางครั้งจะนิยมเรียกความต้านทานแบบนี้ว่า พอต ความแตกต่างระหว่างความต้านทานแบบรีโอสตัลและแบบโพเทนชิโอมิเตอร์คือ จำนวนขั้วที่ต่อใช้งาน

3. ตัวต้านทานชนิดพิเศษอื่น ๆ - ชนิดเปลี่ยนค่าได้โดยใช้แสง LDR (Light Dependent Resistor)  เป็นอุปกรณ์ที่มีความต้านทานลดลง เมื่อได้รับแสงสว่างเนื่องจาก LDR ถูกสร้างขึ้นมาจากสารกึ่งตัวนำที่มีความไวแสงมาก เช่น แคดเมียมซัลไฟด์ สามารถเปลี่ยนค่าความต้านทานได้ระหว่าง 100 โอห์ม ถึง 1เมกะโอห์ม

- ชนิดเปลี่ยนค่าโดยใช้ความร้อน(Thermister ) 1. PTC (Positive Temperature Coefficient) ในสภาวะปกติจะมีค่าความต้านทานต่ำ แต่เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความต้านทานจะสูงขึ้นตาม

2. NTC (Negative Temperature Coefficient) ในสภาวะปกติจะมีค่าความต้านทานสูง แต่เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความต้านทานจะต่ำลง  

จบการนำเสนอ