วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
กระบวนทัศน์ทิศทางงานอภิบาล วิธีดำเนินการสัมมนาภาค
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
“แสดงความมุ่งมั่น แบ่งปันการเรียนรู้”
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
บทที่ 5 เครือข่ายสังคมออนไลน์
บทที่ 5 เครือข่ายสังคมออนไลน์
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
LAKE SKYWALKER PRESENT.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
สร้างพลังเครือข่าย R2R
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
Communities of Practice (CoP)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
รองอธิบดีกรมการแพทย์
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
กิจกรรมละลายพฤติกรรม
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้ 9 กรกฎาคม 2550 ยุวนุช ทินนะลักษณ์

วศ. กับ การเป็น LO การเรียนรู้ตลอดเวลา ไม่หยุดนิ่ง การเคลื่อนที่ไปในเชิงรุก คาดการณ์และดำเนินการแบบProactive ขยายโลกทัศน์ เรียนรู้โลกที่กว้างกว่าขอบเขตงาน

วศ. กับ การเป็นองค์กรทางวิทยาศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ S&T ที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำความเข้าใจสังคมแต่ละส่วนที่ได้รับผลกระทบทั้งบวกและลบจากS&T มุ่งเป้าหมายหลักในทิศเดียวกันกับนโยบายS&Tของกระทรวงฯ/ประเทศ(พันธกิจหลัก + การสร้างความตระหนักS&Tในประชาชน) “สังคมอุดมปัญญา – Knowledge-based Society”

วศ. กับ การร่วมสร้างสังคมอุดมปัญญา วิทยาศาสตร์(และเทคโนโลยี) กับ/ใน สังคม Science and/in Society การสร้างความสัมพันธ์ของวศ. กับ สังคมที่มีความหลากหลาย การเปิดมุมมองใหม่ การเปิดใจ เปลี่ยนวิธีคิด เปลี่ยนการกระทำ ทำไมต้องเปลี่ยน จากเดิม...สู่อะไร?

การสื่อสาร...เพื่อสร้างความสัมพันธ์ใหม่... และ...ความรู้ใหม่ การสื่อสารระหว่างนักวิทยาศาสตร์/บรรณารักษ์ @ภายในในวศ. @กับหน่วยงานอื่น การสื่อสารออกไปสู่ประชาชนกลุ่มต่างๆ โดย @นักวิทยาศาสตร์/บรรณารักษ์ @ฝ่ายประชาสัมพันธ์ = Networking

Knowledge vs. Information Knowledge = Information in Action

ความรู้ 2 ประเภท Explicit Knowledge – ความรู้แจ้งชัด Tacit Knowledge – ความรู้ฝังลึกอยู่ในตัวคน

Knowledge Spiral การสื่อสารเป็นตัวทำให้เกิดการหมุนของ “เกลียวความรู้” เกลียวความรู้เกิดจากการที่การสื่อสารทำให้ “ความรู้แจ้งชัด”และ “ความรู้ฝังลึก”มีการเปลี่ยนกลับไปมา (Conversion)

การจัดการความรู้...องค์ประกอบ People Process Content Technology

ชุมชนนักปฏิบัติ Communities of Practices-CoPs การรวมตัวกันของคนที่มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกัน มีกิจกรรมหรือเรื่องหรือโครงการที่ทำงานร่วมกันอย่างหวังผลสัมฤทธิ์ มีได้ทั้ง ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ

พื้นที่แห่งการปฏิบัติ (Ba) สถานที่ที่เอื้อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน สถานที่อาจเป็น สถานที่จริงที่มาพบกันอย่างตัวบุคคล (Physical Space) หรือสถานที่เสมือน (Virtual Space) หรือสถานที่ในความคิด (Mental Space) Ba ที่ดีเกิดจากความมีอิสระของผู้ร่วมกิจกรรม ซึ่งมีจุดมุ่งหมายในการทำกิจกรรมที่ได้กำหนด มีความตั้งใจ ทิศทางและภารกิจของกลุ่มตั้งอยู่บนพื้นฐานของความรัก เชื่อใจ มั่นใจและเคารพซึ่งกันและกัน

CoPs + Ba ทั้งสองสิ่งเป็นสภาพที่ต้องไปด้วยกัน จึงจะบ่มเพาะให้เกิดCreative Dialogue ระหว่างผู้คนที่มาจากหลายแนวหรือสาขาของความรู้ความชำนาญ ตลอดจนความคิดเห็นที่หลากหลาย เป็นการเอื้อให้เปิดใจ ให้แต่ละคนกล้าเปิดเผยTacit knowledge ซึ่งสำคัญมากในการจัดการและสร้างความรู้ นำไปสู่ การร่วมสร้างความรู้ที่สามารถนำไปปฏิบัติ(Operational Knowledge)

ทำอะไรกันใน CoPs และ Ba? Share & Learn เริ่มจากความสำเร็จเล็กๆ โดยกระบวนการและวิธีการต่างๆ เช่น Storytelling Deep Listening Appreciative Inquiry Peer Assist Before & After Action Review (BARและ AAR)

ทุกคนมีบทบาท มีความสำคัญ ... ...ในการร่วมสร้าง “ปัญญาปฏิบัติ” คุณเอื้อ คุณกิจ คุณอำนวย คุณลิขิต คุณประสาน ฯลฯ

สรุป การปรับโลกทัศน์ วิสัยทัศน์ เพื่อช่วยกันสร้างสังคมอุดมปัญญา ที่มีความรู้ทาง S&T เป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนา สร้างสรรค์ขึ้นเป็นกิจกรรมและโครงการต่างๆเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทุกระดับ ใช้ KM เป็นเครื่องมือ ปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของตนเอง เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเพียงเครื่องมือช่วย ไม่ใช่มุ่งเก็บความรู้ใส่ตุ่ม

ขอบคุณที่ให้ความสนใจค่ะ