วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้ 9 กรกฎาคม 2550 ยุวนุช ทินนะลักษณ์
วศ. กับ การเป็น LO การเรียนรู้ตลอดเวลา ไม่หยุดนิ่ง การเคลื่อนที่ไปในเชิงรุก คาดการณ์และดำเนินการแบบProactive ขยายโลกทัศน์ เรียนรู้โลกที่กว้างกว่าขอบเขตงาน
วศ. กับ การเป็นองค์กรทางวิทยาศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ S&T ที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำความเข้าใจสังคมแต่ละส่วนที่ได้รับผลกระทบทั้งบวกและลบจากS&T มุ่งเป้าหมายหลักในทิศเดียวกันกับนโยบายS&Tของกระทรวงฯ/ประเทศ(พันธกิจหลัก + การสร้างความตระหนักS&Tในประชาชน) “สังคมอุดมปัญญา – Knowledge-based Society”
วศ. กับ การร่วมสร้างสังคมอุดมปัญญา วิทยาศาสตร์(และเทคโนโลยี) กับ/ใน สังคม Science and/in Society การสร้างความสัมพันธ์ของวศ. กับ สังคมที่มีความหลากหลาย การเปิดมุมมองใหม่ การเปิดใจ เปลี่ยนวิธีคิด เปลี่ยนการกระทำ ทำไมต้องเปลี่ยน จากเดิม...สู่อะไร?
การสื่อสาร...เพื่อสร้างความสัมพันธ์ใหม่... และ...ความรู้ใหม่ การสื่อสารระหว่างนักวิทยาศาสตร์/บรรณารักษ์ @ภายในในวศ. @กับหน่วยงานอื่น การสื่อสารออกไปสู่ประชาชนกลุ่มต่างๆ โดย @นักวิทยาศาสตร์/บรรณารักษ์ @ฝ่ายประชาสัมพันธ์ = Networking
Knowledge vs. Information Knowledge = Information in Action
ความรู้ 2 ประเภท Explicit Knowledge – ความรู้แจ้งชัด Tacit Knowledge – ความรู้ฝังลึกอยู่ในตัวคน
Knowledge Spiral การสื่อสารเป็นตัวทำให้เกิดการหมุนของ “เกลียวความรู้” เกลียวความรู้เกิดจากการที่การสื่อสารทำให้ “ความรู้แจ้งชัด”และ “ความรู้ฝังลึก”มีการเปลี่ยนกลับไปมา (Conversion)
การจัดการความรู้...องค์ประกอบ People Process Content Technology
ชุมชนนักปฏิบัติ Communities of Practices-CoPs การรวมตัวกันของคนที่มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกัน มีกิจกรรมหรือเรื่องหรือโครงการที่ทำงานร่วมกันอย่างหวังผลสัมฤทธิ์ มีได้ทั้ง ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
พื้นที่แห่งการปฏิบัติ (Ba) สถานที่ที่เอื้อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน สถานที่อาจเป็น สถานที่จริงที่มาพบกันอย่างตัวบุคคล (Physical Space) หรือสถานที่เสมือน (Virtual Space) หรือสถานที่ในความคิด (Mental Space) Ba ที่ดีเกิดจากความมีอิสระของผู้ร่วมกิจกรรม ซึ่งมีจุดมุ่งหมายในการทำกิจกรรมที่ได้กำหนด มีความตั้งใจ ทิศทางและภารกิจของกลุ่มตั้งอยู่บนพื้นฐานของความรัก เชื่อใจ มั่นใจและเคารพซึ่งกันและกัน
CoPs + Ba ทั้งสองสิ่งเป็นสภาพที่ต้องไปด้วยกัน จึงจะบ่มเพาะให้เกิดCreative Dialogue ระหว่างผู้คนที่มาจากหลายแนวหรือสาขาของความรู้ความชำนาญ ตลอดจนความคิดเห็นที่หลากหลาย เป็นการเอื้อให้เปิดใจ ให้แต่ละคนกล้าเปิดเผยTacit knowledge ซึ่งสำคัญมากในการจัดการและสร้างความรู้ นำไปสู่ การร่วมสร้างความรู้ที่สามารถนำไปปฏิบัติ(Operational Knowledge)
ทำอะไรกันใน CoPs และ Ba? Share & Learn เริ่มจากความสำเร็จเล็กๆ โดยกระบวนการและวิธีการต่างๆ เช่น Storytelling Deep Listening Appreciative Inquiry Peer Assist Before & After Action Review (BARและ AAR)
ทุกคนมีบทบาท มีความสำคัญ ... ...ในการร่วมสร้าง “ปัญญาปฏิบัติ” คุณเอื้อ คุณกิจ คุณอำนวย คุณลิขิต คุณประสาน ฯลฯ
สรุป การปรับโลกทัศน์ วิสัยทัศน์ เพื่อช่วยกันสร้างสังคมอุดมปัญญา ที่มีความรู้ทาง S&T เป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนา สร้างสรรค์ขึ้นเป็นกิจกรรมและโครงการต่างๆเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทุกระดับ ใช้ KM เป็นเครื่องมือ ปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของตนเอง เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเพียงเครื่องมือช่วย ไม่ใช่มุ่งเก็บความรู้ใส่ตุ่ม
ขอบคุณที่ให้ความสนใจค่ะ