นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
มูลเหตจูงใจในการทำงาน เต็มใจสนับสนุนให้งานซึ่งเราศรัทธาประสบความสำเร็จ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
กลุ่ม 3 โรงพยาบาลชุมชนที่มีแพทย์ดำเนินการ
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
กลุ่ม 4 รพช.( ไม่มีแพทย์ ดำเนินการ ) นำเสนอโดย นางสมรัก ชักชวน รพ. ตรอน จ. อุตรดิตถ์
รพศ. / รพท. ไม่มีแพทย์ดำเนินงาน
สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข แนวทางการตรวจราชการ/นิเทศประจำปี 2553 นิเทศงานคณะที่ 3 9. การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ กระทรวงสาธารณสุข หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ กรมการแพทย์ สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ

สภาพปัญหา กระทรวงสาธารณสุข สถานบริการของกระทรวงสาธารณสุขยังไม่มีระบบการดูแลรักษาผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วย ที่แตกต่างจากผู้ป่วยกลุ่มอายุอื่น

สภาพปัญหา กระทรวงสาธารณสุข สถานบริการของกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ พ.ศ.2548

สภาพปัญหา กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขจำเป็นต้องมีการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ ในประเด็น ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน/ในชุมชน/ในสถานบริการ ผู้ช่วยดูแลผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ในฐานะแกนนำการดูแลที่บ้านและในชุมชน /

ผลลัพธ์ที่ต้องการ กระทรวงสาธารณสุข มี Long Term Care Model Team 1 อำเภอ 1 ทีม (5 คะแนน) 1. รพศ. รพท. รพช. รพ.สังกัดกรมการแพทย์ รพ. สังกัดกรมสุขภาพจิตที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีการพัฒนาระบบบริการผู้สูงอายุโดยใช้เกณฑ์ที่กำหนด 2. ชมรมผู้สูงอายุสามารถดำเนินการและสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งที่เป็นสมาชิกชมรมและที่ไม่ได้เป็นสมาชิก 3. สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้านระบบอาสาสมัคร ด้านกองทุนสุขภาพ เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กระทรวงสาธารณสุข การกำกับของจังหวัด มี Long Term Care Model Team 1 อำเภอ 1 ทีม (5 คะแนน) ระดับคะแนน 1. มีการจัดตั้งและดำเนินการคลินิกผู้สูงอายุตามมาตรฐาน 2 คะแนน 2. มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยชมรมผู้สูงอายุ 2 คะแนน 3. มีการจัดระบบบริการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 1 คะแนน

1.คลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง หน่วยบริการที่มีกิจกรรม กระทรวงสาธารณสุข 1.คลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง หน่วยบริการที่มีกิจกรรม 1. มีบุคลากรทางการแพทย์ดำเนินการ 2. มีป้าย “คลินิกผู้สูงอายุ” และ ประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุรับทราบ 3. จำนวนวันที่ให้บริการอย่างน้อย 1 วัน/สัปดาห์

1.คลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง หน่วยบริการที่มีกิจกรรม กระทรวงสาธารณสุข 1.คลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง หน่วยบริการที่มีกิจกรรม 4. จัดให้มีการบริการทางการแพทย์ ดังนี้อย่างน้อย 2 ข้อ การให้คำปรึกษา ( counseling ) /Case Management ประเมินสุขภาพ/คัดกรอง Coordination one stop service management การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน การบำบัดรักษา - สนับสนุนให้มีการเยี่ยมบ้าน ดูแลสุขภาพที่บ้าน (Home Health Care)

1.คลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง หน่วยบริการที่มีกิจกรรม กระทรวงสาธารณสุข 1.คลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง หน่วยบริการที่มีกิจกรรม 5. มีการรวบรวมข้อมูลของผู้สูงอายุในด้านต่อไปนี้ อย่างน้อย 2 ด้าน เช่น (เฉพาะ รพศ./รพท.) โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ อัตราการตาย 5 อันดับแรก จำนวนวันที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยใน จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในแผนกทันตกรรม ความพึงพอใจของผู้สูงอายุในการรับบริการด้านสาธารณสุข

1.คลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง หน่วยบริการที่มีกิจกรรม กระทรวงสาธารณสุข 1.คลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง หน่วยบริการที่มีกิจกรรม มีคลินิกพิเศษ สำหรับผู้สูงอายุตามที่แต่ละ รพ.มีผู้เชี่ยวชาญ (เฉพาะ รพศ./รพท.) เช่น Geriatric Dental Clinic เช่น ฟันเทียม รากฟันเทียม Memory Geriatric Clinic Orthopedics Geriatric Clinic Urology Geriatric Clinic Geriatric Rehabilitation Clinic

ขอบพระคุณ วันวานในน้ำมีปลา วันข้างหน้าในสังคมมีผู้สูงวัย เปลี่ยนความห่วงใยเป็นการปฏิบัติ อย่างจริงจังเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ของผู้สูงอายุที่เรารัก ขอบพระคุณ