ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
ENGINEERING MATHAMETICS 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
อสมการ (Inequalities)
การหาเซตคำตอบของอสมการ
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
แผนการจัดการเรียนรู้
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วงรี ( Ellipse).
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 41102 ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13

ฟังก์ชัน ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ฟังก์ชันทั่วถึง ฟังก์ชันจาก A ฟังก์ชันเชิงเส้น 2.ลักษณะของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล 3.ชนิดของฟังก์ชัน 1. ความหมายฟังก์ชัน ฟังก์ชัน ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ ฟังก์ชันกำลังสอง ฟังก์ชันขั้นบันได กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง การนำกราฟไปใช้ในการแก้สมการและอสมการ การแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เรื่องฟังก์ชันกำลังสองและกราฟ

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล พิจารณากราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 ให้ กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะดังนี้ จาก ให้ x = -3 จะได้ x = -2 จะได้ x = -1 จะได้ x = 0 จะได้ x = 1 จะได้ x = 2 จะได้ x = 3 จะได้

เขียนกราฟของ ได้ดังนี้

จากรูป จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าเพิ่มขึ้นด้วย และ ค่าของ y หรือ จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อ x เป็นจำนวนเต็มบวก และมีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าน้อยลง และมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ เมื่อ x เป็นจำนวนลบ โดเมนของฟังก์ชัน คือเซตของจำนวนจริง เรนจ์ของฟังก์ชัน คือ เซตของจำนวนจริงบวก

ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนกราฟของ ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนกราฟของ วิธีทำ จาก และจาก ให้ x = -3 จะได้ x = -2 จะได้ x = -1 จะได้ x = 0 จะได้ x = 1 จะได้

x = 2 จะได้ x = 3 จะได้ เขียนกราฟของ ได้ดังนี้

จากรูป เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าลดลง และมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ และ x มีค่าลดลง y จะมีค่าเพิ่มขึ้น โดเมนของฟังก์ชันคือเซตของจำนวนจริง เรนจ์ของฟังก์ชันคือเซตของจำนวนจริงบวก

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เขียนในรูป เมื่อ และ สรุป ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เขียนในรูป เมื่อ และ 1 . กราฟของฟังก์ชัน จะผ่านจุด (0, 1) เสมอ 2. ถ้า เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าเพิ่มขึ้น ถ้า 0 < a < 1 เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะลดลง 3. ก็ต่อเมื่อ

ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนกราฟของ ในระนาบเดียวกัน ลองทำดู

ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าของ x เมื่อกำหนดให้ วิธีทำ จาก จะได้ จาก จะได้ และ x = -4 ตรวจสอบ โดยแทนค่า x = -4 จะได้

ตัวอย่างที่ 5 แมลงชนิดหนึ่งมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำนวนแมลงชนิดนี้หาได้จากสมการ เมื่อ f(t) แทนจำนวนแมลง และ t แทนจำนวนวัน 1. จงหาจำนวนแมลง (โดยประมาณ) เมื่อกำหนดให้ t = 0, 1, 2, 3, … , 7 2. จงหาจำนวนแมลง (โดยประมาณ) ที่เพิ่มขึ้นแต่ละวัน ตั้งแต่วันแรกถึงวันที่ 7 3. เขียนกราฟของฟังก์ชัน f

จำนวนวัน (t) จำนวนแมลง f(t) ตัว วิธีทำ 1) จงหาจำนวนแมลง (โดยประมาณ) เมื่อกำหนดให้ t = 0, 1, 2, 3, … , 7 จากสมการ เมื่อ f(t) แทนจำนวนแมลง และ t แทนจำนวนวัน จากตาราง พบว่า เมื่อเริ่มต้นมีแมลง 100 ตัว และเวลาผ่านไป 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 วัน จำนวนแมลงเท่ากับ 130, 169, 219, 285, 371, 482 และ 627 ตัว และพบว่าในวันที่ 7 จำนวนแมลงจะมีค่าประมาณ 6 เท่าของจำนวนแมลงในวันแรก จำนวนวัน (t) จำนวนแมลง f(t) ตัว 1 2 3 4 5 6 7 100 130 169 219 285 371 482 627

จำนวนแมลงที่เพิ่มขึ้นจากวันก่อนหน้า 2. จงหาจำนวนแมลง (โดยประมาณ) ที่เพิ่มขึ้นแต่ละวัน ตั้งแต่วันแรกถึงวันที่ 7 วิธีทำ จากค่า f(t) ในตารางสามารถนำมาหาจำนวนแมลงที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันได้ดังนี้ จากตารางพบว่า เมื่อจำนวนวันเพิ่มขึ้นจำนวนแมลงที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันก็เพิ่มขึ้นด้วยโดยจะเห็นว่า เมื่อครบ 6 วัน จำนวนแมลงที่เพิ่มขึ้นในวันที่ 6 จะมากกว่าจำนวนแมลงในวันเริ่มต้น (ซึ่งเท่ากับ 100 ตัว) จำนวนวัน จำนวนแมลง จำนวนแมลงที่เพิ่มขึ้นจากวันก่อนหน้า 1 2 3 4 5 6 7 100 130 169 219 285 371 482 627 - 30 39 50 66 86 111 145

3. เขียนกราฟของฟังก์ชัน f จำนวนวัน (t) จำนวนแมลง f(t) ตัว 1 2 3 4 5 6 7 100 130 169 219 285 371 482 627 3. เขียนกราฟของฟังก์ชัน f

เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ใบงานที่ 13 (ก) เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล จงเขียนกราฟของฟังก์ชันที่กำหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันโดยพิจารณาจากกราฟ 1. 2. 3. 4. 5.