ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current นายเชิดชัย พลกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวาปีปทุม
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 1 กระแสไฟฟ้า
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 1 กระแสไฟฟ้า (Electric Current) I หาจากความสัมพันธ์ Q เกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า มีทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของประจุบวก ไหลจากจุดที่มี Vสูง Vต่ำ
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เซลล์ไฟฟ้าเคมี เซลล์ปฐมภูมิ เซลล์ทุตติยภูมิ ไดนาโม คู่ควบความร้อน เซลล์สุริยะ แหล่งกำเนิดไฟฟ้าในสิ่งมีชีวิต
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 2 กระแสไฟฟ้า (Electric Current) A L v a b - n = จำนวนของปริมาณอิเล็กตรอนในหนึ่งหน่วยปริมาตร v = ความเร็วเฉลี่ยของอิเล็กตรอน (m/s) e = ประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน = 1.6 x 10-19 C
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 3 โจทย์ฝึกทักษะกระแสไฟฟ้า 1. ตัวนำไฟฟ้ามีพื้นที่หน้าตัด 3 mm2 มีประจุไฟฟ้า +600 C และ-200 C เคลื่อนที่สวนทางกันในเวลา 4 วินาที จงหากระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในตัวนำ 2. จากกราฟความสัมพันธ์ I-t จงหาประจุไฟฟ้า I(mA) 10 5 0 2 4 6 t (นาที)
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 4 โจทย์ฝึกทักษะกระแสไฟฟ้า 3. ถ้ามีกระแสไฟฟ้าขนาด 12 แอมแปร์ ไหลผ่าน เส้นลวดตัวนำเส้นหนึ่งนาน 2 นาที จงหาจำนวน อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ผ่านในเส้นลวดตัวนำนี้ 4. ลวดเส้นหนึ่งมีพื้นที่หน้าตัดเป็นวงกลมขนาด 0.2 ตารางเซนติเมตร ความยาว 1 เมตร เมื่อต่อ ลวดนี้เข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าจะมีประจุไฟฟ้า 9 x 10-2 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ผ่านในเวลา 10 วินาที ถ้าความเร็วเฉลี่ยของอิเล็กตรอนในเส้นลวดเป็น 2 x 10-4 เมตรต่อวินาที จงหาจำนวนอิเล็กตรอน อิสระในลวดเส้นนี้ทั้งหมด
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 5 โจทย์ฝึกทักษะกระแสไฟฟ้า 5. แบตเตอรี่ก้อนหนึ่งสามารถจ่ายประจุไฟฟ้าได้ ทั้งหมด 5.0 x 104 คูลอมบ์ ตลอดเวลาที่ใช้ งานถ้าแบตเตอรี่นี้จ่ายกระแสไฟฟ้า 20 มิลลิ แอมแปร์ อย่างสม่ำเสมอ จะสามารถใช้งาน แบตเตอรี่ได้นานกี่ชั่วโมง 6. ลวดโลหะเส้นหนึ่งมีอิเล็กตรอนอิสระ 7 x 1030 อนุภาคต่อลูกบาศก์เมตร ลวดโลหะนี้มีพื้นที่ภาค ตัดขวาง 4 ตารางมิลลิเมตร ถ้าอิเล็กตรอน เคลื่อนที่ด้วยความเร็วลอยเลื่อน 0.1 มิลลิเมตร ต่อวินาที ปริมาณของกระแสไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วย พื้นที่มีค่าเท่าใด
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 6 กฏของโอห์ม (Ohm’s Law) “ถ้าอุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำ จะแปรผันตรงกับความต่างศักย์ระหว่างปลาย ของตัวนำนั้น” V(Volt) I (A) หาจากความสัมพันธ์ Slope = = R
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 7 ความต้านทาน (Resistance) เป็นสมบัติในการต้านกระแสไฟฟ้า (I) ในวงจร สัญลักษณ์ในวงจรใช้ R มีหน่วยเป็น โอห์ม () ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ต้านกระแสไฟฟ้า (I) เรียกว่า ตัวต้านทาน (Resistor) สัญลักษณ์ในวงจร R ตัวต้านทาน (Resistor)
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 8 การอ่านค่าความต้านทานจากแถบสี แถบที่ 4 (ความผิดพลาด) แถบที่ 1 (เลขตัวแรก) แถบที่ 2 (เลขตัวที่สอง) แถบที่ 3 (เลขชี้กำลังของ 10) 9 ขาว 8 เทา 7 ม่วง 6 น้ำเงิน 5 เขียว 4 เหลือง 3 ส้ม 2 แดง 1 น้ำตาล ดำ -2 เงิน -1 ทอง ± 20% ไม่มีสี ± 10% เงิน ± 5% ทอง ± 2% แดง ± 1% น้ำตาล
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 9 ไดโอด (Diode) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้าเพื่อ - บังคับทิศการไหลของ I ในวงจร - เปลี่ยน AC เป็น DC - สัญลักษณ์ในวงจร
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 9 ไดโอด (Diode) การต่อไดโอดในวงจรไฟฟ้า (Bias) การ Bias ตรง I 0 การ Bias กลับ I = 0
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 10 โจทย์ฝึกทักษะกฎของโอห์ม 1. หลอดบรรจุก๊าซ มีความสัมพันธ์ระหว่าง I และ V เป็นดังรูป ช่วงที่หลอดบรรจุก๊าซนี้เป็นไป ตามกฎของโอห์ม มีความต้านทานเท่าใด V(Volt) 400 300 150 I (mA) 0 50 300 350
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 11 โจทย์ฝึกทักษะกฎของโอห์ม 2. กราฟข้างล่างนี้ แสงความสัมพันธ์ระหว่าง I และ V ที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 4 ตัว ตัวต้านทานที่มี ค่าความต้านทานสูงสุดคือตัวต้านทานใด I(A) A B 0.4 0.3 C 0.2 D 0.1 V (V) 0 1 2 3 4 5
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 12 โจทย์ฝึกทักษะกฎของโอห์ม 3. ตัวต้านทานตัวหนึ่งมีแถบสี ดังรูป ค่าความ ต้านทานของตัวต้านทานนี้ มีค่าเท่าใด สีทอง สีเขียว สีส้ม 4. จากรูป ควรเลือกใช้ตัวต้านทานตัวใด A B C
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 13 โจทย์ฝึกทักษะกฎของโอห์ม 5. ตัวต้านทาน 2 ตัว มีค่าความต้านทานตัวละ 30 ต่อเป็นวงจรกับไดโอดดังรูป จงหาว่าแอมมิเตอร์ A จะอ่านค่าได้เท่าใด 30 30 A 6 V
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 14 สภาพต้านทาน () และความต้านทาน (R) ตัวนำชนิดเดียวกัน ยาวเท่ากัน ขนาดต่างกัน A2 A1 L R1 R2 ตัวนำชนิดเดียวกัน ยาวไม่เท่ากัน ขนาดเท่ากัน A L1 L2 R1 R2 R R = A1 = A2=A L1 L2 R1 R2 R L L1=L2=L A1 A2 R1 R2 R
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 15 การยืด หรือรีด โลหะตัวนำ เมื่อนำโลหะมารีด หรือยืด จะพบว่า ปริมาณที่เปลี่ยนแปลง ปริมาณที่คงที่ ความยาว (L) สภาพต้านทาน () พื้นที่หน้าตัด (A) ปริมาตร (V) ความต้านทาน (R) ปริมาตรก่อนยืด= ปริมาตรหลังยืด V1 = V2 A1L1 = A2L2
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 16 โจทย์ฝึกทักษะสภาพต้านทาน 1. ลวดตัวนำขนาดสม่ำเสมอเส้นหนึ่งยาว 1 เมตร วัดความต้านทานได้ 0.4 ถ้ามีลวดตัวนำ ชนิดเดียวกัน แต่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเล็ก กว่าเป็นครึ่งหนึ่งให้มีความต้านทาน 1.6 จะต้องใช้ลวดยาวเท่าใด 2. ลวดเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 6 เมื่อนำมารีด ให้เส้นลวดมีขนาดเล็กลง จนมีความยาวเป็น 3 เท่า ของตอนเริ่มต้น ถ้าคุณสมบัติต่าง ๆ ของ สารที่ทำเส้นลวดไม่เปลี่ยนแปลงความต้านทาน ของลวดตอนสุดท้ายจะเป็นกี่โอห์ม
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 17 การต่อความต้านทาน แบบอนุกรม การต่อ R แบบอนุกรม จะพบว่า 1. I = I1 = I2 = I3 2. Vรวม = V1 + V2 + V3 3. Rรวม = R1 + R2 + R3
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 18 การต่อความต้านทาน แบบขนาน 1. Vรวม = V1 = V2 = V3 2. I = I1 + I2 + I3 3.
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 19 การต่อความต้านทาน แบบ Wheatstone Bridge เป็นวงจร Wheatstone Bridge เมื่อ ตัด R5 ทิ้ง
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 20 โจทย์ฝึกทักษะการต่อตัวต้านทาน 1. ถ้าต้องการนำลำโพงที่มีความต้านทาน 8 2 ตัว และ 16 1 ตัว มาต่อเข้าด้วยกัน โดยให้มีความ รวมเท่ากับ 8 จะต้องต่อตัวต้านทานตามข้อใด 1.1 8 16 8 16 1.2 8 16 1.3 8 16 1.4
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 21 โจทย์ฝึกทักษะการต่อตัวต้านทาน 2. จากรูป จงหาความต้านทานระหว่าง A และ B 40 20 12 A B 10 30 3. จากรูป จงหาความต้านทานระหว่าง A และ B 3 A B X Y
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 22 โจทย์ฝึกทักษะการต่อตัวต้านทาน 4. จากรูป จงหาความต้านทานระหว่าง X และ Y 50 75 a 25 100 X Y b 150 5. จากรูป จงหาความต้านทานระหว่าง A และ B 4 9 6 A B 2 3
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 24 วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย จากความสัมพันธ์ W = qV จะได้ว่า qE = qVR + qVr E = IR + Ir พลังงานที่ประจุได้รับจากเซลล์ = พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ผ่าน ตัวต้านทานภายนอก(R ) + พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของประจุ ผ่านเซลล์ (r )
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 25 โจทย์ฝึกทักษะวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 1. แบตเตอรี่ตัวหนึ่งต่ออนุกรมกับความต้านทาน 148 ปรากฏว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร 0.05 A แต่เมื่อเพิ่มความต้านทานเป็น 248 จะมีกระแสไหลในวงจรเพียง 0.03 A จงหาว่า แบตเตอรี่นี้มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเท่าใด 2. แบตเตอรี่ตัวหนึ่งเมื่อต่อเป็นวงจรไฟฟ้าพบว่ามี กระแสไฟฟ้า 5 A และความต่างศักย์ระหว่างขั้ว แบตเตอรี่ 50 V แต่ถ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน แบตเตอรี่ 1.8 A จะมีความต่างศักย์ไฟฟ้า ระหว่างขั้ว 56.4 V จงหา E , r ของแบตเตอรี่
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 26 การต่อเซลล์ไฟฟ้า (แบตเตอรี่) แบบอนุกรม R I E I
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 27 การต่อเซลล์ไฟฟ้า (แบตเตอรี่) แบบขนาน R R E E E r r r R E r
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 28 โจทย์ฝึกทักษะการต่อเซลล์ไฟฟ้า 1. เซลล์ไฟฟ้า 2 เซลล์ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 2 และ 2.4 V มีความต้านทานภายในเท่ากันคือ 1 ถ้าต่อเซลล์ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 2 V เข้ากับ ความต้านทาน R จะได้กระแสค่าหนึ่ง หาก ต่อเซลล์ที่ 2 อนุกรมกับเซลล์แรกจะได้กระแส เป็น 2 เท่าของครั้งแรก ค่า R มีค่ากี่โอห์ม 2. เซลล์ไฟฟ้า 3 เซลล์ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเซลล์ละ 2 V และมีความต้านทานภายในเซลล์ละ 4 ปรากฏว่าถ้าต่อเซลล์ทั้งหมดแบบอนุกรมแล้วต่อ กับหลอดไฟ หลอดจะสว่างเท่ากับเมื่อต่อหลอด ไฟกับเซลล์ทั้งหมดที่ต่อแบบขนาน จงหาค่า ความต้านทานของหลอดไฟ
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 29 โจทย์ฝึกทักษะการต่อเซลล์ไฟฟ้า 3. นักเรียนคนหนึ่งนำแบตเตอรี่ 2 ตัว ซึ่งมี แรงเคลื่อนไฟฟ้า 6 V และ 8 V มาเรียงต่อกัน แล้วต่อกับความต้านทาน 48 ถ้าในตอนแรก นักเรียนต่อผิด (นำขั้วลบต่อกับขั้วลบหรือ ขั้วบวกต่อกับขั้วบวก) ปรากฏว่ามีกระแสใน วงจรเพียง 0.04 A ถ้านักเรียนต่อแบตเตอรี่ ใหม่ให้ถูกต้อง (นำขั้วบวกต่อกับขั้วลบ) จะมี กระแสไหลในวงจรกี่แอมแปร์
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 30 โจทย์ฝึกทักษะการต่อเซลล์ไฟฟ้า 4. จากวงจรไฟฟ้าดังรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ไหล ผ่านตัวต้านทานในวงจร 1.5 V 1 1.5 V 0.5 1.5 V 1 9
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 31 แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 32 แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ - เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าในวงจร - เวลาใช้ต่ออนุกรม (แทรก)ในวงจร - สัญลักษณ์ในวงจร A - แอมมิเตอร์ที่ดี ควรมีความต้านทาน (R) ต่ำ โวลต์มิเตอร์ - ใช้วัดความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุดในวงจร - เวลาใช้ต่อขนาน(คร่อมระหว่าง 2 จุด)ในวงจร - สัญลักษณ์ในวงจร V - โวลต์มิเตอร์ที่ดี ควรมีความต้านทาน (R) มาก
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 32 การดัดแปลงโวลต์มิเตอร์ Rm Iv ก่อนดัดแปลง V หลังดัดแปลง V R a b E r I R E r a b โวลต์มิเตอร์ที่ ดัดแปลงแล้ว
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 33 โจทย์ฝึกทักษะแอมมิเตอร์ 1. แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 1000 และกระแสไฟฟ้าสูงสุด 0.01 A ถ้าต้องการดัดแปลงให้ สามารถวัดกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 0.03 A จะต้องต่อ ชันต์ที่มีค่าความต้านทานกี่โอห์มในวงจร 1. 333 2. 500 3. 1500 4. 2000 2. กระแสไฟฟ้าสูงสุดของแกลแวนอมิเตอร์มีค่า 50 A เมื่อ นำความต้านทาน 119,000 มาต่ออนุกรมกับแกลแวนอ มิเตอร์ สามารถวัดความต่างศักย์ได้สูงสุด 6 V ถ้าต้อง การดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์นี้เป็นแอมมิเตอร์ เพื่อให้วัด กระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 50 mA จะต้องใช้ความต้านทาน กี่โอห์มมาต่อกับแกลแวนอมิเตอร์ และต่อในลักษณะใด
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 34 โจทย์ฝึกทักษะแอมมิเตอร์ 3. แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 900 โอห์ม กระแสไฟฟ้าผ่านสูงสุด 10 ไมโครแอมแปร์ ถ้าต้องการ ให้กระแสไฟฟ้า 100 ไมโครแอมแปร์ผ่านต้องใช้ความ ต้านทานเท่าไร และต่ออย่างไรกับแกลแวนอมิเตอร์นี้ 1. 100 โอห์ม ต่อขนาน 2. 90 โอห์ม ต่อขนาน 3. 100 โอห์ม ต่ออนุกรม 4. 90 โอห์ม ต่ออนุกรม 4. เมื่อนำแกลแวนอมิเตอร์ตัวหนึ่งมาสร้างเป็นแอมมิเตอร์ เพื่อใช้วัดกระแสได้สูงสุด 75 มิลลิแอมแปร์ ต้องใช้ ความต้านทาน 1 โอห์มเป็นชันต์ ถ้ากระแสสูงสุดของ แกลแวนอมิเตอร์มีค่า 40 ไมโครแอมแปร์ ค่าความ ต้านทานของแกลแวนอมิเตอร์มีค่ากี่โอห์ม 1. 1874 2. 1900 3. 2000 4. 2556
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 35 การดัดแปลงโวลต์มิเตอร์ หลังดัดแปลง V Rm Iv I = IR + IV IV = IRm โวลต์มิเตอร์ที่ ดัดแปลงแล้ว ก่อนดัดแปลง V R a b E r I R E r a b Rm= multiplier = ค.ต.ท.ที่ต่ออนุกรมกับโวลต์มิเตอร์ I = IR + IV
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 36 โจทย์ฝึกทักษะโวลต์มิเตอร์ 1. แกลแวนอมิเตอร์ตัวหนึ่งมีความต้านทาน 4 เข็มเบน เต็มสเกลเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน 1 mA ถ้าต้องการใช้ งานเป็นโวลต์มิเตอร์ ซึ่งวัดค่าได้เต็มสเกลได้ 10 V จะต้องใช้ความต้านทานขนาดกี่โอห์มมาต่อลักษณะใด กับแกลแวนอมิเตอร์นี้ 1. 4 x10-4 , ต่อขนาน 2. 0.44 ,ต่อขนาน 3. 6 ,ต่ออนุกรม 4. 9996 , ต่ออนุกรม 2. แกลแวนอมิเตอร์มีความต้านทาน 25 เมื่อมีกระแส ไฟฟ้าผ่าน 1 mA เข็มจะเบนไป 1 ช่องสเกล ถ้าต้อง การนำไปใช้เป็นโวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า ได้ 1 โวลต์ต่อ 1 ช่องสเกล จะต้องนำความต้านทาน กี่โอห์มมาต่อ และต่อลักษณะใด 1. 975 , ต่อขนาน 2. 975 , ต่ออนุกรม 3. 990 , ต่อขนาน 4. 990 ,ต่ออนุกรม
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 37 โจทย์ฝึกทักษะโวลต์มิเตอร์ 3. โวลต์มิเตอร์ตัวหนึ่งแบ่งสเกลไว้ระหว่าง 0-50 โวลต์ มี ความต้านทาน 500 ถ้าต้องการดัดแปลงให้วัดความ ต่างศักย์ได้ 220 V จะต้องใช้ความต้านทานขนาดกี่โอห์ม มาต่อลักษณะใดกับโวลต์มิเตอร์นี้ 1. 1500 ต่อขนาน 2. 1500 ต่ออนุกรม 3. 1700 ต่อขนาน 4. 1700 ต่ออนุกรม 4. แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งเข็มกระดิกเต็มสเกล เมื่อมี กระแสไหลผ่าน 0.001 แอมแปร์ เมื่อดัดแปลง โดย เพิ่มความต้านทานต่ออนุกรมเข้าไป 49,993 โอห์ม จะสามารถวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้สูงสุดเท่าไร ถ้า แกลแวนอมิเตอร์มีความต้านทาน 7 โอห์ม 1. 25 โวลต์ 2. 30 โวลต์ 3. 50 โวลต์ 4. 75 โวลต์
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 38 พลังงานไฟฟ้า และ กำลังไฟฟ้า จากความสัมพันธ์ และ จะได้ กำลังไฟฟ้า เป็นอัตราส่วนของพลังงานไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วย เวลา มีค่าตามสมการ ดังนั้น จะได้
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 39 โจทย์ฝึกทักษะพลังงานไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า 1. เตาปิ้งขนมปังอันหนึ่งใช้พลังงานไฟฟ้า 800 วัตต์ เมื่อใช้กับไฟฟ้า 200 โวลต์ ขดลวดความร้อนทำ ด้วยลวดนิโครม มีพื้นที่หน้าตัด 0.2 ตารางมิลลิ เมตร และมีสภาพต้านทาน 1 x 10-6 โอห์ม .เมตร จงหาว่าจะต้องใช้ลวดนิโครมยาวกี่เมตร 1. 10 2. 5 3. 1 4. 0.1 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านชนิด 100 W 220 V เมื่อนำมาใช้ขณะที่ไฟตกเหลือ 200 V เครื่องใช้ ไฟฟ้านั้นจะใช้กำลังไฟฟ้าเท่าใด 1. 78 W 2. 83 W 3. 88 W 4. 93 W
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 40 โจทย์ฝึกทักษะพลังงานไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า 3. หลอดไฟธรรมดาขนาด 40 W ใช้กับไฟฟ้า 220 V จำนวน 2 ดวง นำมาต่ออนุกรมกันแล้ว นำไปต่อกับไฟฟ้า 110 V จงหาว่าดวงไฟ แต่ละดวงจะให้กำลังไฟฟ้าออกมากี่วัตต์ 1. 1.5 2. 2.5 3. 3.5 4. 4.5 4. จากวงจรไฟฟ้าในรูป กำลังไฟฟ้าที่สูญเสียใน ความต้านทาน 1 โอห์ม มีค่า 4 วัตต์ จงหา แรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่ 2 1 2 1. 5 V 2. 8 V E 6 4 2 3. 10 V 4. 12 V
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 41 การคำนวณค่าไฟฟ้า 1. หาพลังงานไฟฟ้าที่สิ้นเปลืองไปของเครื่องใช้ไฟฟ้า ทุกชนิด ซึ่งมีหน่วย เป็น ยูนิต พลังงานไฟฟ้า 1 ยูนิต (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) คือ พลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้ไฟฟ้า 1000 วัตต์ ในเวลา 1 ชั่วโมง จำนวนยูนิต หาจาก ค่าไฟฟ้า = จำนวนยูนิต x ค่าไฟฟ้า 1 ยูนิต 2. คำนวณค่าไฟฟ้า ดังนี้
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 42 โจทย์ฝึกทักษะการคำนวณค่าไฟฟ้า 1. ครอบครัวหนึ่งใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเท่ากันทุกวัน โดยมี รายการต่อไปนี้ ใช้หม้อหุงข้าวขนาด 1000 วัตต์ วันละ 1 ชั่วโมง ใช้หลอดไฟ 40 วัตต์ 5 ดวง วันละ 4 ชั่วโมง ใช้โทรทัศน์ขนาด 150 วัตต์ วันละ 4 ชั่วโมง ใช้เตารีดไฟฟ้าขนาด 750 วัตต์ วันละ 1 ชั่วโมง ถ้าไฟฟ้าที่ใช้มีความต่างศักย์ 220 โวลต์ และเสีย ค่าไฟฟ้ายูนิตละ 1.50 บาท ในช่วงเวลา 1 เดือน จะต้องเสียค่าไฟฟ้าเท่าใด 1. 94.50 บาท 2. 141.75 บาท 3. 82.20 บาท 4. 61.65 บาท