(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา
การวิเคราะห์ความเร็ว
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
ตัวอย่าง Flowchart.
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
Homework 2D Equilibrium of Particle
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Chapter 7 Restrained Beams
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
ระบบอนุภาค.
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง.
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
Introduction to Statics
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Equilibrium of a Particle
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
วิชา ว ฟิสิกส์ 3 สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การเขียนผังงาน (Flowchart)
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วงรี ( Ellipse).
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
Chapter Objectives Chapter Outline
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม) 430201 Engineering Statics (สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)

บทที่ 3: สมดุลของอนุภาค จุดประสงค์ เพื่อได้เรียนรู้และเข้าใจถึง concept ของ Free-Body Diagram (FBD) ของอนุภาค (particle) เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับสมดุลของอนุภาคโดยใช้สมการความสมดุล (Equations of Equilibrium) ได้

เราจะหาแรงใน cables AB and AC เนื่องจากน้ำหนักของม้วนเชือกได้อย่างไร? การประยุกต์ใช้ เราจะหาแรงใน cables AB and AC เนื่องจากน้ำหนักของม้วนเชือกได้อย่างไร?

การประยุกต์ใช้ (ต่อ) ถ้ากำหนดให้ cable มีความสามารถรับแรงได้สูงสุดค่าหนึ่งแล้ว เราจะหาค่าน้ำหนักบรรทุกสูงสุดที่ cable สามารถรองรับได้อย่างไร?

3.1 เงื่อนไขของความสมดุลของอนุภาค อนุภาคอยู่กับที่ ถ้าเมื่อตอนเริ่มต้นอยู่กับที่ (static equilibrium) หรือ อนุภาคเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ถ้าตอนเริ่มต้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ตัวอย่างของระบบที่อยู่ในสภาวะสมดุลใน 2 มิติ ในการหาแรงตึงที่เกิดขึ้นใน cable เนื่องจากน้ำหนักของเครื่องยนต์ เราจะต้องเรียนรู้การเขียน free-body diagram และการประยุกต์ใช้สมการความสมดุล

3.2 แผนภาพ Free-Body Diagram What?: เป็นแผนภาพที่แสดงถึงแรงภายนอกทั้งหมดที่กระทำต่ออนุภาค Why?: เพื่อใช้ในการเขียนสมการความสมดุลเพื่อแก้หา unknown Unknown?: แรงหรือมุมที่แรงกระทำกับแกนอ้างอิง

ขั้นตอนในการเขียน Free-Body Diagram 1. แยกอนุภาคออกจากสิ่งรอบข้างและเขียนอนุภาคนั้นอย่างคร่าวๆ y FAB FAC 50o 30o x A W 2. ตั้งระบบแกน x-y 3. เขียนแรงและทิศทางของแรง พร้อมขนาดและสัญลักษณ์ที่เหมาะสม

>>>> 3.3 สมการความสมดุลใน 2 มิติ เมื่ออนุภาค A อยู่ในสมดุล ผลรวมของแรงกระทำต่ออนุภาคมีค่าเป็นศูนย์ 3.3 สมการความสมดุลใน 2 มิติ y TB A 30o x ในรูป vector TD 2.452 kN ในรูป scalar TB = 4.90 kN TD = 4.25 kN >>>>

ตัวอย่างที่ 3-1 จงหาค่าแรงกดอัดที่เกิดขึ้นในแท่งเหล็ก BC และแรงดึงที่เกิดขึ้นในส่วน AB และ AC ของโซ่ เมื่อเครื่องยนต์หนัก 200 kg y 1. เขียน FBD 200(9.81) N A x 55o 55o 2. ใช้สมการสมดุล FAB FAC

1. เขียน FBD y 1198 N B 55o x FBC 2. ใช้สมการสมดุล FBD

End of the Lecture 4