(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 1 อัตราส่วน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
Homework 2D Equilibrium of Particle
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Chapter 7 Restrained Beams
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
Lab 2: การใช้ MATLAB สำหรับการสร้างแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์
ระบบอนุภาค.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
Second-Order Circuits
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Equilibrium of a Particle
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
Systems of Forces and Moments
สหสัมพันธ์ (correlation)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Chapter 1 Vector.
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม) 430201 Engineering Statics (สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)

สรุปบทที่ 2/3 Dot Product ของ vector A และ vector B ได้ปริมาณ scalar 1. หามุมระหว่าง vector สอง vectors หรือมุมที่เกิดจากการตัดกันของเส้นตรง

2. หาองค์ประกอบของ vector ที่ขนานและตั้งฉากกับเส้นตรงเส้นหนึ่ง 1. หา unit vector ในแนวแกน aa´ (e.g. ใช้ position vector) 2. หา vector ที่ขนานกับแกน aa´ โดยใช้การ dot product ตามสมการข้างต้น 3. Vector ที่ตั้งฉากกับแกน aa´ จะหาได้ 2 วิธี

สรุปบทที่ 3/1 3.1 เงื่อนไขของความสมดุลของอนุภาค อนุภาคอยู่กับที่ ถ้าเมื่อตอนเริ่มต้นอยู่กับที่ (static equilibrium) ในการหาแรงตึงที่เกิดขึ้นใน cable เนื่องจากน้ำหนักของเครื่องยนต์ เราจะต้องเรียนรู้การเขียน free-body diagram (FBD) และการประยุกต์ใช้สมการความสมดุล

>>>> 3.3 สมการความสมดุลใน 2 มิติ เมื่ออนุภาค A อยู่ในสมดุล ผลรวมของแรงกระทำต่ออนุภาคมีค่าเป็นศูนย์ 3.3 สมการความสมดุลใน 2 มิติ y TB A 30o x ในรูป vector TD 2.452 kN ในรูป scalar TB = 4.90 kN TD = 4.25 kN >>>>

Start of the Lecture 5

1. เขียน FBD: เราควรเริ่มที่จุดใด??? ตัวอย่างที่ 3-2 จงหาค่าแรงที่เกิดขึ้นในส่วนต่างๆ ของ cable และค่าของแรง F ที่ใช้ในการดึง cable เมื่อดวงไฟหนัก 4 kg 1. เขียน FBD: เราควรเริ่มที่จุดใด??? TBA y 60o B x 30o 4(9.81) N TBC 2. ใช้สมการสมดุล

1. เขียน FBD: จุดเชื่อมต่อ C y 39.24 kN 39.24 kN TCD 30o 30o x C F 2. ใช้สมการสมดุล

1. เขียน FBD: เราควรเริ่มที่จุดใด??? ตัวอย่างที่ 3-3 เส้นเชือกแต่ละเส้นสามารถรับแรงดึงได้สูงสุด 200 N จงหาน้ำหนักสูงสุดของถุงทรายที่เชือกสามารถรองรับได้ และจงหามุม θ ของเส้นเชือก CD 1. เขียน FBD: เราควรเริ่มที่จุดใด??? y THA H x W 2. ใช้สมการสมดุล

ถัดไปเราจะเลือกจุดเชื่อมต่อใด??? W จุดเชื่อมต่อ A y TAB TAC 45o 60o x A W

0.5176W จุดเชื่อมต่อ B y TBE TBC 30o x B 45o 0.5176W

จุดเชื่อมต่อ C y 0.7321W 0.2679W TCD 0.2679W θ x C 60o 0.7321W

3.4 สมการความสมดุลใน 3 มิติ ในรูป vector F1 = -250i+150j+100k 100 N 250 N 150 N โดยที่ 200 N 100 N 150 N F1 = 200 i+100j–150 k F3 = ??? F3 = 50 i-250j+50 k

ตัวอย่างของระบบที่อยู่ในสภาวะสมดุลใน 3 มิติ ในการหาแรงตึงที่เกิดขึ้นในโซ่ เนื่องจากน้ำหนักของแผ่นเหล็ก เราจะต้องเรียนรู้การเขียน FBD และการประยุกต์ใช้สมการความสมดุล z W 1. ใช้จินตนาการแยกอนุภาคออกจากสิ่งที่อยู่รอบข้างและเขียนอนุภาคนั้นอย่างคร่าวๆ y A x FB FC FD 2. เขียนแกน x แกน y และแกน z 3. เขียนแรงและทิศทางของแรง พร้อมขนาดและสัญลักษณ์ที่เหมาะสม

Note: ในการใช้สมการความสมดุลใน 3 มิติ 1. ในกรณีที่สามารถแตกแรงออกเป็นองค์ประกอบของแรงได้ง่าย ใช้สมการความสมดุล 2. ในกรณีที่การแตกแรงออกเป็นองค์ประกอบของแรงได้ยาก ให้เขียนแรงให้อยู่ในรูป Cartesian vector จากนั้น ให้องค์ประกอบของ Cartesian unit vector มีค่าเป็นศูนย์

ตัวอย่างที่ 3-5 เสาวิทยุ OA ออกแรง F = 1200 N กระทำต่อ cable ที่จุดยึดรั้ง A จงหาแรงดึงที่เกิดขึ้นใน cable แต่ละเส้น 1. เขียน FBD F = 1200k N A FAC FAD FAB 2. ใช้สมการสมดุล

ทำการเขียน Cartesian vector ของแรงตึงใน cable (0, 0, 6) position vector ของ cable (-3, -6, 0) rAB = (2-0)i+(3-0)j+(0-6)k = 2i+3j-6k rAB = 7.0 m (-1.5, 2, 0) rAC = (-1.5-0)i+(2-0)j+(0-6)k = -1.5i+2j-6k rAC = 6.5 m (2, 3, 0) rAD = (-3-0)i+(-6-0)j+(0-6)k = -3i-6j-6k rAD = 9.0 m

Cartesian vector ของแรง rAB = 2i+3j-6k rAB = 7.0 m F = 1200k N FAB FAC FAD x y z rAC = -1.5i+2j-6k rAC = 6.5 m rAD = -3i-6j-6k rAD = 9.0 m

Cartesian vector ของแรง F = 1200k N FAB FAC FAD x y z จากสมการความสมดุลที่จุด A จะได้ว่า

ทำการแก้สมการทั้งสาม A F = 1200k N 792.5 N 147.2 N 577.4 N x y z

ตัวอย่างที่ 3-4 ถ้า cable แต่ละเส้นสามารถรองรับแรงได้สูงสุด 15 kN จงหาว่าแผ่นพื้นคอนกรีตจะมีน้ำหนักสูงสุดได้เท่าใด 1. เขียน FBD W = Wk N A FAC FAD FAB

ทำการเขียน Cartesian vector ของแรงตึงใน cable 2. ใช้สมการสมดุล ทำการเขียน Cartesian vector ของแรงตึงใน cable position vector ของ cable rAB = (4-0)i+(-6-0)j+(0-12)k = 4i-6j-12k rAB = 14.0 m (0, 0, 12) rAC = (-6-0)i+(-4-0)j+(0-12)k = -6i-4j-12k rAC = 14.0 m (-6, -4, 0) (4, -6, 0) (-4, 6, 0) rAD = (-4-0)i+(6-0)j+(0-12)k = -4i+6j-12k rAD = 14.0 m

Cartesian vector ของแรง W = Wk N FAB FAC FAD z rAB = 4i-6j-12k rAB = 14.0 m y x rAC = -6i-4j-12k rAC = 14.0 m rAD = -4i+6j-12k rAD = 14.0 m

Cartesian vector ของแรง W = Wk N FAB FAC FAD จากสมการความสมดุลที่จุด A จะได้ว่า

เนื่องจากเรามีสมการ 3 สมการ แต่มีตัวแปรไม่ทราบค่าทั้งหมด 4 ตัว ดังนั้น สมมุติให้แรง FAB = 15 kN ซึ่งเราจะได้ว่า

ดังนั้น แผ่นพื้นคอนกรีตดังกล่าวจะมีน้ำหนักสูงสุดได้เท่ากับ

End of the Lecture