ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล วงจรไฟฟ้า -งานที่เกิดขึ้นโดยลดอัตราและจำนวนการทำงานด้วยแรงงานคน -เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน -ก้าวทันและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม -ความปลอดภัยในการทำงาน ระบบเมแคนิก
แหล่งจ่ายไฟ (power Supply) วงจรไฟฟ้า ประกอบด้วย แหล่งจ่ายไฟ (power Supply) - อุปกรณ์ใช้งาน (out put) - สายไฟ
การออกแบบเครื่องใช้ไฟฟ้า ต้องคำนึงถึงค่าแรงดันไฟฟ้าที่กำหนด หากเครื่องใช้ไฟฟ้าได้รับไฟฟ้าเกินกว่าค่าแรงดันไฟฟ้าที่เครื่องใช้จะรับได้ จะทำให้เกิดความเสียหายต่อเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ในการจัดการเรียนการสอนใช้แหล่งจ่ายไฟที่มีค่าแรงดันไฟฟ้าขนาด 9 โวลต์เท่านั้น
วงจรปิด คือการกดสวิตซ์เพื่อให้ไฟครบวงจร วงจรสวิตซ์ สวิตซ์ เป็นอุปกรณ์ควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้า หากวงจรอยู่ในลักษณะเปิด คือไม่ได้กดสวิตซ์ กระแสไฟจะไม่ครบวงจร วงจรปิด คือการกดสวิตซ์เพื่อให้ไฟครบวงจร วงจรปิด วงจรเปิด
การทำงานของสวิตซ์กด สวิตซ์กดที่ใช้งานจริงมีสปริงทำให้ขั้ว 1 และ 2 ต่อถึงกัน เมื่อกดสวิตซ์ขั้ว 1 และ 3 จะต่อถึงกัน คล้ายการทำงานตามภาพ
การต่อวงจรไฟฟ้า การต่อวงจรแบบอนุกรม การต่อวงจรแบบขนาน การต่อวงจรแบบผสม วงจรไฟฟ้าประกอบด้วย 1. ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า 2. สายไฟ 3. อุปกรณ์ไฟฟ้า (ห้ามต่อวงจรไฟฟ้าโดยไม่มีอุปกรณ์ไฟฟ้ามาต้านการไหลของกระแส จะเกิดการลัดวงจรขึ้น) การต่อวงจรแบบอนุกรม การต่อวงจรแบบขนาน การต่อวงจรแบบผสม
การต่อวงจรแบบอนุกรม เป็นการต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าตามกัน จะทำให้แรงดันไฟฟ้าแบ่งไปยังอุปกรณ์แต่ละชนิด
การต่อวงจรแบบขนาน เป็นการต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเคียงกัน อุปกรณ์แต่ละชนิดจะได้รับแรงดันไฟฟ้าเท่ากัน แต่แหล่งจ่ายไฟต้องป้อนกระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
เป็นการต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบอนุกรม และขนานร่วมกัน การต่อวงจรแบบผสม เป็นการต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบอนุกรม และขนานร่วมกัน
ระบบไฟฟ้าและเครื่องกล การต่อวงจรไฟฟ้ากับมอเตอร์ เพื่อเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล แบบจำลองที่นักเรียนสร้างขึ้นนั้นการสั่งงานมอเตอร์สามารถเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของมอเตอร์ได้โดยการกลับทิศทางของกระแสไฟฟ้า หรือควบคุมผ่านสวิตซ์ไขว้ ส่วนการควบคุมความเร็วในการหมุนของระบบเมแคนิกทำได้โดยลดความเร็วของมอเตอร์ด้วยการติดตั้งห้องเกียร์
2. เตียงผู้ป่วยในโรงพยาบาล งานที่ต้องทำ 1. ห้องโชว์แจกันโบราณ 2. เตียงผู้ป่วยในโรงพยาบาล