DNA สำคัญอย่างไร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Advertisements

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Chromosome ชีววิทยา ม. 4.
กลไกการวิวัฒนาการ.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
ของส่วนประกอบของเซลล์
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
The Genetic Basis of Evolution
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
โพรโทซัว( Protozoa ).
Sarote Boonseng Nucleic acids.
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
7.Cellular Reproduction
whey เวย์ : casein เคซีน
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การวิเคราะห์ DNA.
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
พลศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 การเคลื่อนไหวร่างกายขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
การกลายพันธุ์ (MUTATION)
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Transcription (การถอดรหัส)
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

DNA สำคัญอย่างไร

ดีเอ็นเอ (อังกฤษ: DNA) เป็นชื่อย่อของสารพันธุกรรม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (Deoxyribonucleic acid) ซึ่งเป็นกรดนิวคลีอิก (กรดที่พบในใจกลางของเซลล์ทุกชนิด) ที่พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ได้แก่ คน, สัตว์, พืช, เชื้อรา, แบคทีเรีย, ไวรัส เป็นต้น ดีเอ็นเอบรรจุข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นไว้ ซึ่งมีลักษณะที่ผสมผสานมาจากสิ่งมีชีวิตรุ่นก่อน ซึ่งก็คือ พ่อและแม่ และสามารถถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตรุ่นถัดไป ซึ่งก็คือ ลูกหลาน

DNA มีโครงสร้างเป็นสายยาวพันกันเป็นเกลียวคู่คล้ายบันไดเวียนขวา แต่ละสายประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์จำนวนมาก นิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วย 1) น้ำตาลเพนโทส มีคาร์บอน 5 อะตอม คือ น้ำตาลดีออกซีไรโบส 2) ไนโตรเจนเบส (ชนิดใดชนิดหนึ่ง) จาก 4 ชนิดต่อไปนี้ - อะดีนิน (Adenine หรือ A) - กวานีน (Guanine หรือ G) - ไทมีน (Thymine หรือ T) - ไซโทซีน (Cytosine หรือ C) 3) หมู่ฟอสเฟต (P) เป็นส่วนเชื่อมระหว่างนิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยในสายดีเอ็นเอ เบสในดีเอ็นเอจะจับคู่กัน คือ A กับ T , C กับ G

ความสำคัญของดีเอ็นเอ ดีเอ็นเอควบคุมลักษณะของการแสดงออก สามารถถ่ายทอดจาก พ่อแม่สู่ลูกผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์และการปฏิสนธิ DNA คือสารพันธุกรรม ทำหน้าที่กำหนดกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์โดยควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนชนิดต่างๆ เช่น เอนไซม์

ดีเอ็นเอมีรูปร่างเป็นเกลียวคู่ คล้ายบันไดลิงที่บิดตัว

DNA ย่อมาจากคำว่า Deoxyribonucleic Acid คือสารพันธุกรรมหรือหน่วยพื้นฐานที่ทำหน้าที่เก็บรักษาข้อมูลและ ถ่ายทอดลักษณะทางกรรมพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต DNA ส่วนใหญ่จะอยู่ในโครโมโซมภายในนิวเคลียส ซึ่งปกติจะพบได้ในน้ำเลือด น้ำอสุจิ เส้นผม ดังนั้น DNA จึงเป็นตัวบ่งชี้รูปพรรณสัณฐานของแต่ละคน

ภายในนิวเคลียสของแต่ละเซลล์ที่ประกอบกันเป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง จะมีจำนวนโครโมโซมเท่ากันหมดทุกเซลล์ เช่น ทุก ๆ เซลล์ของร่างกายคนมีโครโมโซมจำนวน 46 แท่ง แต่ในเซลล์สืบพันธุ์จะมีจำนวนโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์ร่างกาย ดังภาพ

แผนภาพอย่างง่ายแสดงการสร้างเซลล์อสุจิและเซลล์ไข่

จำนวนโครโมโซมภายหลังการปฏิสนธิ เมื่อเซลล์อสุจิของพ่อและเซลล์ไข่ของแม่ซึ่งมีโครโมโซมเซลล์ละ 23 แท่งมารวมกัน เซลล์ใหม่ที่ได้จึงมีจำนวนโครโมโซม 46 แท่ง ซึ่งเท่ากับจำนวนโครโมโซมของเซลล์ร่างกายปกติ ดังแสดงในภาพ จำนวนโครโมโซมภายหลังการปฏิสนธิ

โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีรูปร่างลักษณะเหมือนกันเป็นคู่ ๆ ยีนซึ่งอยู่บนโครโมโซมก็ปรากฏเป็น คู่ด้วย

ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ เนื่องจาดดีเอ็นเอ (อาจเรียกว่า ชิ้นส่วนของยีน) เป็นสารพันธุกรรมที่มีอยู่ทุกเซลล์ทั่วร่างกาย ดังนั้นดีเอ็นเอของแต่ละคนจึงมีลักษณะจำเพาะเหมือนลายมือหรือลายนิ้วหรือแผลเป็นของแต่ละคน แต่ดีเอ็นเอมีลักษณะดีกว่าที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่บริเวณใดของร่างกาย ดังนั้นจึงถือว่าลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (DNA fingerprint) เป็นลักษณะจำเพาะของแต่ละคน และมีข้อดีกว่าลายมือที่สามารถใช้พิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายเลือดได้ด้วย เพราะ ดีเอ็นเอของลูกจะได้รับมาจากพ่อและแม่อย่างละครึ่งหนึ่ง ดีเอ็นเอของแต่ละคนจึงยากที่จะมีคนอื่นเหมือน ยกเว้นแฝดแท้ที่เกิดจากไข่ใบเดียวกันและอสุจิตัวเดียวกัน