แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ระบบอนุภาค.
วิชากีฬา 3 (พ.013 บาสเกตบอล )
การออกกำลังกายในคนอ้วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Equilibrium of a Particle
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
การฝึกตีระนาดเอก กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ วิชาดนตรีไทย (ศ40102)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
พลศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 การเคลื่อนไหวร่างกายขั้นพื้นฐาน
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
กิจกรรมชุดที่ 6 มาวัดแรงกันเถอะ Let’s go !.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
งานเครื่องล่างรถยนต์
พื้นฐานพิมพ์ดีด โดย นางสุริยา พรรณราย.
การชั่งและตวง ครูปนัดดา เปียถนอม.
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
แบบฝึกการเล่นลูกมือล่างสำหรับผู้หัดเล่นวอลเลย์บอล
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา โดย ครูเพ็ญประภา หร่ายเจริญ

แรงปฏิกิริยา แรงกิริยา แรงกิริยา (action force) เป็นแรงที่กระทำต่อวัตถุที่จุดใดจุดหนึ่ง แล้วทำให้เกิดแรงธรรมชาติในทิศทางตรงกันข้ามหรือที่เรียกว่า แรงปฏิกิริยา แรงปฏิกิริยา แรงปฏิกิริยา (reaction force) เป็นแรงธรรมชาติที่เกิดขึ้นโต้ตอบแรงกิริยาที่กระทำต่อวัตถุ มีทิศทางตรงกันข้ามกับแรงกิริยา

เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) ได้ตั้งกฎ การเคลื่อนที่ของนิวตัน ซึ่งเน้นเป็นกฎเกณฑ์พื้นฐานของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่ง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 กล่าวว่า “แรงกิริยาทุกแรงจะทำให้เกิดแรงปฏิกิริยาที่มีขนาดเท่ากัน กระทำในทิศทางตรงกันข้ามเสมอ”

แรงดันของลมที่ออกจากปากลูกโป่งจะทำให้เกิดแรงดันลูกโป่งให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกันข้ามกับแรงที่ออกจากปากลูกโป่ง

ตารางแสดงการเคลื่อนที่ของวัตถุกับแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา กิจกรรม การนำไปใช้ประโยชน์ แรงกิริยา แรงปฏิกิริยา คนพายเรือ ใบพายที่ดันน้ำไปด้านหลังของเรือ เรือเคลื่อนที่ได้ด้วยแรงปฏิกิริยา การส่งจรวด ความร้อนและไอที่พุ่งออกจากด้านล่างของจรวด จรวดเคลื่อนที่ไปในแนวดิ่งตรงกันข้ามกับแรงดันของไอ

กิจกรรม การนำไปใช้ประโยชน์ แรงกิริยา แรงปฏิกิริยา เครื่องบินไอพ่น ไอพ่นที่พุ่งออกทางด้านด้านหลังของเครื่องบิน เครื่องบินเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ด้วยแรงโต้ตอบ บั้งไฟ แรงจากการลุกไหม้ของสารเคมี แรงที่บั้งไฟเคลื่อนขึ้นบนท้องฟ้า แรงที่กดลงบนพื้น แรงที่ต้านการกดของพื้น

กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ จงระบุชนิดของแรงว่าเป็นแรงกิริยาหรือแรงปฏิกิริยา 1. การตีลูกเทนนิส ลูกเทนนิสเคลื่อนที่ไปได้ไกล 10 เมตร 2. ตบลูกบาสเกตบอลลงบนพื้น ลูกบาสเกตบอลกระดอนขึ้นมา 3. วางก้อนหินหนัก 2 นิวตันบนโต๊ะ 4. ตากผ้าห่มไว้บนราวตากผ้า 5. ออกแรงปอกมะม่วง

คำถามกิจกรรมที่ 2 1. ทิศทางการเคลื่อนที่ของลูกโป่งจะมีทิศทางเดียวกับหรือตรงข้ามกันกับทิศที่ลมพ่นออก ?

2. แรงกิริยากับแรงปฏิกิริยาเท่ากันหรือไม่ 2. แรงกิริยากับแรงปฏิกิริยาเท่ากันหรือไม่

กิจกรรมที่ 2 เรื่อง แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา วันที่ ....................................................... จุดประสงค์การทดลอง เพื่อศึกษาว่าแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยามีค่าเท่ากันหรือไม่ วิธีทำ ลอกในหนังสือเรียน หน้า 12

เครื่องชั่งสปริงตัวที่ 1 เครื่องชั่งสปริงตัวที่ 2 ผลการทดลอง ครั้งที่ เครื่องชั่งสปริงตัวที่ 1 ออกแรงดึง (N) เครื่องชั่งสปริงตัวที่ 2 1 ใช้มือซ้ายออกแรงดึงเครื่องชั่งสปริง มือขวาอยู่นิ่ง 2 ใช้มือขวาออกแรงดึงเครื่องชั่งสปริง มือซ้ายอยู่นิ่ง 3 ใช้มือซ้ายและมือขวาออกแรงดึงเครื่องชั่งสปริงพร้อมกัน