โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
เทคนิคการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การดับเพลิง/กู้ภัย
1. สามารถอธิบายชิ้นส่วนต่างๆ ในรถกู้ภัยขนาดเล็กได้ วัตถุประสงค์ 1. สามารถอธิบายชิ้นส่วนต่างๆ ในรถกู้ภัยขนาดเล็กได้ 2. บอกลักษณะและวิธีการใช้งานของ ชิ้นส่วนต่างๆ ได้ 3. บอกวิธีการบำรุงรักษาก่อนและหลังใช้งานได้
การใช้เครื่องมือกู้ภัยประจำรถยนต์กู้ภัยขนาดเล็ก
การแบ่งชิ้นส่วนต่างๆ ตามประเภทการใช้งาน 1. เครื่องมือ (TOOLS) 2. อุปกรณ์ (EQUIPMENT) 3. ส่วนประกอบ (ACCESSORIES)
1. เครื่องมือ (TOOLS)
2. อุปกรณ์ (EQUIPMENT)
3. ส่วนประกอบ (ACCESSORIES)
การแบ่งลักษณะการใช้พลังงาน 1. พลังงานไฟฟ้า 2. พลังงานลม 3. เครื่องยนต์ 4. ไฮดรอลิค 5. พลังงานอื่นๆ
อุปกรณ์ต่างๆ ในรถกู้ภัยขนาดเล็ก 1. ปั๊มน้ำดับเพลิง
2. อุปกรณ์ไฮดรอลิค
เครื่องสูบไฮดรอลิคแบบมือโยก รีลสายยาว 20 ม. ทนแรงดัน 10000 psi เครื่องตัด 34 ตัน กว้าง 5 นิ้ว ย.ต้นกำลัง 4.5 hp 3600 rpm แรงดัน 9100 psi หนัก 41กก. เครื่องถ่าง 9 ตัน กว้าง 24.8 นิ้ว เครื่องตัดถ่าง 13.5ตัน กว้าง 6.3 นิ้ว ชุดแม่แรงค้ำยัน ปั้มมือโยก 9100 psi นน. 8.7 กก. 12 ตัน เครื่องสูบไฮดรอลิคแบบมือโยก
3. ชุดเครื่องมือกู้ภัยอเนกประสงค์
หมอนลมแรงดันสูง แรงดันใช้งาน 8 BAR 9.6 ตัน 37X37 ซม. ยกสูง 20 ซม.
4. ชุดหมอนลมแรงดันสูง
ชุดหมอนลมแรงดันสูง
เลื่อยโซ่ เครื่องยนต์เบนซิน 2 จังหวะ ระบายความร้อนด้วยอากาศ ขนาด 66.8 CC อัตราส่วนผสมเชื้อเพลิง 40 ต่อ 1 ถังเชื้อเพลิงจุ 0.73 ลิตร รอบหมุนทำงาน 12,500 รอบ/นาที ระบบติด ย.แบบELECTRONIC มีระบบหล่อลื่นอัตโนมัติ ความยาวบาร์โซ่ 20 นิ้ว
เลื่อยโซ่ยนต์
เลื่อยยนต์
เลื่อยยนต์ เครื่องยนต์เบนซิน2 จังหวะ ขนาด 71 CC ระบายความร้อนด้วยอากาศ อัตราส่วนผสมเชื้อเพลิง 25 ต่อ 1 รอบการทำงาน 5100 RPM สามารถตัดได้ทุกมุมโดยเครื่องยนต์ไม่ดับ ใบเลื่อยแบบวงเดือนขนาด 12 นิ้ว มี 3 แบบ 1. ตัดคอนกรีต 2. ตัดเหล็ก 3. ปลายคาร์ไบน์
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เหลว (สะสมความดัน) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เหลว (สะสมความดัน) บรรจุด้วย - CO2 อัดที่ความดัน 800 - 900 psi - ถังทนความดันได้ไม่ต่ำกว่า 3,375 psi คุณสมบัติ - เป็นก๊าซเฉื่อย หนักกว่าอากาศ 1.5 เท่า - ก๊าซที่ออกมาเย็นจัด กลายเป็นน้ำแข็งแห้ง 30 %
ข้อดี ข้อเสีย - ใช้ดับไฟ B และ C - สะอาด - ใช้ดับไฟ A ไม่ได้ผลดี - สะอาด ข้อเสีย - ใช้ดับไฟ A ไม่ได้ผลดี - ไม่สามารถดับไฟ D - เกิดภาวะการขาดออกซิเจน - ใช้ในที่โล่งแจ้งไม่ได้ผลดี - 3- 4 ฟุต
ผงเคมีแห้ง (Dry Chemical) บรรจุด้วย - โซเดียมไบคาร์บอนเนต (ผงสีขาว) 1 lbs/1,100 ตร.ฟ.,โปตัสเซียมไบคาร์บอนเนต , แอมโมเนียมฟอสเฟต(สีเหลือง) 1 lbs/1,500 ตร.ฟ. หรือ โปตัสเซียมคลอไรด์ (สีฟ้า) 1lbs/1,800 ตร.ฟ. - อัดด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ก๊าซไนโตรเจน - สารกันชื้น
ข้อดี ข้อเสีย - ใช้ดับไฟ A ,B และ C - ใช้งานง่ายสะดวก - ใช้งานง่ายสะดวก - ระยะการใช้งาน 5 - 15 ฟุต ข้อเสีย - ไม่สามารถดับไฟ D - ทิ้งคราบสกปรก - อุปกรณ์ไฟฟ้า อิเลคโทรนิคเสียหาย - อุปสรรคในการหายใจ และการมองเห็น - ใช้งานได้เพียงครั้งเดียว
ภาพแสดงเกจ์วัดแรงดันเครื่องดับเพลิง NORMAL RECHARGE ใช้ไม่ได้ ใช้ได้
คำถาม?
สวัสดีครับ