โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
การจัดการผู้เสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ
วัตถุประสงค์ สามารถบอกความความสัมพันธ์ของ นิติวิทยาศาสตร์กับการกู้ภัยได้ สามารถบอกกระบวนการในจัดการกับผู้เสียชีวิตได้
นิติวิทยาศาสตร์ คือ “การนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทุกสาขามาประยุกต์ใช้เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงในคดีความเพื่อผลใน การบังคับใช้กฎหมายและการลงโทษ”
การนำเอานิติวิทยาศาสตร์มาใช้ ในขอบเขตโดยทั่วไป ดังนี้ การนำเอานิติวิทยาศาสตร์มาใช้ ในขอบเขตโดยทั่วไป ดังนี้ การตรวจสถานที่เกิดเหตุ และการถ่ายรูป การตรวจลายนิ้วมือ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า การตรวจเอกสาร เช่น ตรวจลายเซ็น ลายมือเขียน การตรวจอาวุธปืน และกระสุนปืนของกลาง การตรวจทางเคมี เช่น ตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสารต่าง ๆ การตรวจทางฟิสิกส์ เช่น ตรวจร่องรอยการเฉี่ยวชนรถ การตรวจทางชีววิทยา เช่น ตรวจเส้นผม เลือด อสุจิ ของผู้บาดเจ็บ การตรวจทางนิติเวช ได้แก่ งานนิติพยาธิ งานนิติวิทยา งานชีวเคมี งานพิสูจน์บุคคล งานภาพการแพทย์
การกำหนดวิธีการในการตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล - ข้อมูลหลัก - ข้อมูลรอง การกำหนดวิธีการในการตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล - ข้อมูลหลัก - ข้อมูลรอง
การนำนิติวิทยาศาสตร์มาใช้ประโยชน์ทางการกู้ภัย ความรู้เบื้องต้นที่ทีมกู้ภัยควรทราบมีดังนี้ 1. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา - มาตรา 148 - มาตรา 149 - มาตรา 150 2. พระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร แจ้งตาย กรณีมีคนตายในบ้าน หรือมีคนตายนอกบ้าน กรณีมีคนตายในสถานพยาบาล กรณีเก็บ ฝัง เผาทำลาย และย้ายศพผิดไปจากที่แจ้งไว้เดิม
ทั้งในกรณีมีคนตายในบ้าน และ กรณีมีคนตายนอกบ้าน ต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ ภายใน 24 ชั่วโมง
การตายโดยผิดธรรมชาติ นั้นคือ ฆ่าตัวตาย ถูกผู้อื่นทำให้ตาย ถูกสัตว์ทำร้ายตาย ตายโดยอุบัติเหตุ ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ
บทบาทและหน้าที่หลักของทีมกู้ภัย กู้ภัยและช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รอดชีวิต และนำส่งแพทย์ยังโรงพยาบาล หากมีผู้เสียชีวิตหรือพบศพในพื้นที่เกิดเหตุ และไม่มีสามี ภรรยา ญาติ มิตรสหาย หรือผู้ปกครองของผู้ตายอยู่ในที่นั้นด้วย ต้องจัดการดังต่อไปนี้ - เก็บศพไว้ ณ ที่ซึ่งพบเพียงเท่าที่จะทำได้ - ไปแจ้งความแก่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจโดยเร็วที่สุด ป้องกันไม่ให้เกิดภัยซับซ้อนขึ้นอีก รวมทั้งให้ความร่วมมือช่วยเหลือเจ้าหน้าที่รัฐ/หน่วยงานอื่นที่เข้ามาช่วยเหลือในเหตุการณ์
ข้อควรปฏิบัติในการดำเนินการเกี่ยวกับผู้เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ สามารถระบุตำแหน่งที่พบศพโดยกำหนดจุดพบศพ ทำเครื่องหมายและบันทึกสภาพแวดล้อมพื้นที่ที่พบศพไว้ วิธีการให้หมายเลขศพ ไม่แยกทรัพย์สินใดๆ ออกจากตัวศพ ควรกระทำอย่างรอบคอบ
ข้อควรปฏิบัติ ในการค้นหาผู้ประสบภัย ข้อควรปฏิบัติ ในการค้นหาผู้ประสบภัย รายงานตัว แสดงตน รับฟังการชี้แจง มอบหมายภารกิจจาก เจ้าหน้าที่หรือผู้มีอำนาจสั่งการ
การค้นหาและส่งต่อผู้ประสบภัย 1. ผู้ไม่ได้รับบาดเจ็บ 2. ผู้ได้รับบาดเจ็บ 3. ผู้ไร้ที่พักอาศัย 4. ผู้เสียชีวิต
ข้อมูลเบื้องต้นจากสถานที่เกิดเหตุมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล การทำอย่างรวดเร็วในช่วงแรก แต่จะเป็นผลให้ช้าในช่วงหลัง การทำอย่างละเอียดถี่ถ้วนและช้าในช่วงแรก แต่จะเร็วในช่วงหลัง
มีอะไรซักถามบ้างครับ?
ขอบคุณครับ