ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การเขียน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การกระทำทางสังคม (Social action)
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
Thesis รุ่น 1.
เศรษฐกิจพอเพียง.
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์ วิธีคิดแบบนักบริหาร ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
(Individual and Organizational)
การเขียนรายงานการวิจัย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการประกันคุณภาพการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การเขียนรายงานการวิจัย
นิเทศศาสตร์กับการเมือง และข้อเสนอสำหรับการวิจัยทางนิเทศศาสตร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
หลักการเทศนา: ทักษะการเทศนา แบบอรรถาธิบาย
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
วิชาการวิจัยอย่างง่าย
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
หลักการเขียนโครงการ.
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร www.ballchanchai.com บทที่ 3 การกำหนดนโยบาย ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร www.ballchanchai.com

ความหมายของการกำหนดนโยบาย การกำหนดนโยบาย หรือ “Policy Formulation” หมายถึง การทำให้ประเด็นปัญหาหรือความต้องการกลายเป็นแนวทางในการตัดสินใจของรัฐบาลเพื่อเลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำ

การขยายตัวของปัญหาสู่ปัญหาเชิงนโยบาย Anderson and Others (1984: 7) 1 ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นสอดคล้องกับผลประโยชน์ของกลุ่มที่มีความสำคัญ โดยกลุ่มที่จะถือว่ามีความสำคัญนั้น จะขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ 3 ประการ คือ อำนาจของกลุ่ม เช่น กลุ่มนักการเมือง กลุ่มทหาร หรือ นายทุน เป็นต้น สถานภาพทางสังคมของกลุ่ม เช่น กลุ่มเชื้อพระวงศ์ หรือ ข้าราชการระดับสูง เป็นต้น จำนวนบุคลากรในกลุ่ม คือ จำนวนของผู้เดือดร้อน ซึ่งถ้ามีเป็นจำนวนมากเท่าไรความสำคัญของกลุ่มก็จะมีเพิ่มมากขึ้น เช่น ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ หรือปัญหาหนี้สินของเกษตรกร เป็นต้น

การขยายตัวของปัญหาสู่ปัญหาเชิงนโยบาย 2 ปัญหานั้นสอดคล้องกับนโยบายเน้นหนักของผู้นำทางการเมืองที่ใช้ในการหาเสียง ซึ่งปัญหาเหล่านี้มักจะเกิดจากการสำรวจความสนใจของประชาชน หรือเป็นผลประโยชน์ร่วมกันของชาติที่ผู้นำเห็นความสำคัญ 3 ปัญหาที่เกิดจากเหตุการณ์เฉพาะหน้าไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์วิกฤต

ความสำคัญของตัวแบบนโยบายสาธารณะ ประการแรก ประโยชน์ของตัวแบบนโยบายสาธารณะขึ้นอยู่กับความสามารถของตัวแบบที่จะอธิบายกระบวนการทางการเมืองให้เข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อที่ผู้สนใจจะได้พิจารณานโยบายสาธารณะพื้นฐานของความสัมพันธ์ที่ปรากฏในโลกแห่งความเป็นจริง ประการที่สอง ตัวแบบนโยบายสาธารณะควรจะจำแนกให้เห็นแนวทางที่มีนัยสำคัญของนโยบายสาธารณะอย่างแท้จริง ตัวแบบควรจะนำไปสู่การอธิบายคุณลักษณะของตัวแปรที่เกี่ยวข้อง หรือสถานการณ์ที่เป็นสาเหตุของการก่อรูปนโยบายที่แท้จริง รวมทั้งผลลัพธ์ที่มีนัยสำคัญของนโยบายสาธารณะ ประการที่สาม ตัวแบบนโยบายสาธารณะควรจะสอดคล้องกับความเป็นจริง ซึ่งหมายความว่าควรจะอ้างอิงเชิงประจักษ์ได้

ความสำคัญของตัวแบบนโยบายสาธารณะ ประการที่สี่ แนวความคิดหรือตัวแบบนโยบายสาธารณะควรจะสื่อข้อความในการอธิบายนโยบายสาธารณะอย่างมีความหมาย ประการที่ห้า ตัวแบบนโยบายสาธารณะควรจะช่วยกำหนดทิศทางในการค้นคว้าและวิจัยเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะให้ชัดเจน ประการสุดท้าย ตัวแบบนโยบายสาธารณะ ควรจะให้ข้อเสนอแนะในการอธิบาย (Explanation) นโยบายสาธารณะ โดยให้ข้อเสนอแนะเชิงสมมุติฐานเกี่ยวกับสาเหตุและผลของนโยบายสาธารณะ และสมมติฐานนั้นจะต้องนำมาทดสอบด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ในโลกของความเป็นจริงได้ แนวความคิดที่ใช้เพียงเพื่อการพรรณนา (Describes) นโยบายสาธารณะไม่มีประโยชน์เท่ากับแนวความคิดในการอธิบาย (Explains) นโยบายสาธารณะ หรืออย่างน้อยที่สุดจะต้องให้ข้อคิดในการอธิบายความเป็นไปได้บางประการของนโยบายสาธารณะ

ตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาการกำหนดนโยบาย ตัวแบบชนชั้นนำ ตัวแบบกลุ่ม ตัวแบบสถาบัน ตัวแบบระบบ ตัวแบบกระบวนการ ตัวแบบหลักเหตุผล ตัวแบบการเปลี่ยนแปลงในส่วนเพิ่ม

ตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาการกำหนดนโยบาย ตัวแบบชนชั้นนำ

ตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาการกำหนดนโยบาย ตัวแบบกลุ่ม

ตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาการกำหนดนโยบาย ตัวแบบสถาบัน

ตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาการกำหนดนโยบาย ตัวแบบระบบ

ตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาการกำหนดนโยบาย ตัวแบบกระบวนการ

ตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาการกำหนดนโยบาย ตัวแบบหลักเหตุผล A

ตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาการกำหนดนโยบาย ตัวแบบหลักเหตุผล B

ตัวแบบที่ใช้ในการศึกษาการกำหนดนโยบาย ตัวแบบการเปลี่ยนแปลงในส่วนเพิ่ม