ตัวดำเนินการในภาษาซี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
BC320 Introduction to Computer Programming
Department of Computer Business
Control Statement for while do-while.
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
บทที่ 2 Operator and Expression
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
รับและแสดงผลข้อมูล.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Arrays.
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการ(Operator)
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำด้วยคำสั่ง while
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คำสั่ง while และ do…while
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
นิพจน์และตัวดำเนินการ
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การใช้งาน Dev C ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
1 Special Operators Special Operators ตัวดำเนินการพิเศษ Increment and decrement operators Conditional Operator.
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
CHAPTER 2 Operators.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวดำเนินการในภาษาซี ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

ประเภทของตัวดำเนินการ ตัวดำเนินการคณิตศาสตร์ (Math operator) ตัวดำเนินการเชิงตรรกะ (logical operator) ตัวดำเนินการเชิงเปรียบเทียบ (Relational Operator) ตัวดำเนินการเพิ่มค่าและลดค่า (Increment and Decrement Operator) ตัวดำเนินการระดับบิต (Bitwise Operator)

ตัวดำเนินการคณิตศาสตร์ (Math operator) + บวก - ลบ * คูณ / หาร % เอาเศษมาเป็นคำตอบ

ตัวอย่าง 7.1 การใช้ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ #include <stdio.h> int m = 80; int n = 20; int sum; int sub; main() { sum = m + m; sub = m – n; printf(“%d + %d = %d \n”, m,n,sum); printf(“%d - %d = %d \n”, m,n,sub); getchar(); }

ผลการรัน ตัวอย่าง 7.1

ตัวอย่าง 7.2 การใช้ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ #include <stdio.h> float f; float m; float a; main() { printf(“Enter mass : ”); scanf(“%f”,&m); printf(“Enter accelerator : ”); scanf(“%f”,&a); getchar(); f = m*a; printf(“force = %.2f”,f); } Access1

ผลการรัน ตัวอย่าง 7.2

ตัวอย่าง 7.2 การใช้ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์

ผลการรัน ตัวอย่าง 7.3

การลดรูปตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ สัญลักษณ์ ตัวอย่าง ความหมาย += x += y; x = x+y; -= x -= y; x = x – y; *= x *= y; x = x * y; /= x /= y; x = x / y; %= x %= y; x = x % y;

ตัวดำเนินการเชิงตรรกะ (logical operator) สัญลักษณ์ ตัวอย่าง ความหมาย && x && y; (และ) เป็นจริงเมื่อ x และ y จริง || x || y; (หรือ) เป็นเท็จเมื่อ x และ y เท็จ ! !x; (นิเสธ) กลับจากจริงเป็นเท็จ เท็จเป็นจริง

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (Relational Operator) สัญลักษณ์ ความหมาย < มากกว่า > น้อยกว่า <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ >= มากกว่าหรือเท่ากับ = = เท่ากับ != ไม่เท่ากับ

ตัวดำเนินการเพิ่มค่าและลดค่า (Increment and Decrement Operator) เป็นตัวดำเนินการที่เพิ่มหรือลดค่าลงครั้งละ 1 มีสัญลักษณ์การใช้งานดังนี้ ++ เพิ่มค่า -- ลดค่า

การเขียนแบบเติมหน้า เป็นการดำเนินการเพิ่มหรือลดค่าให้กับตัวแปรครั้งละ 1 ก่อนนำไปดำเนินการต่อ ตัวอย่างเช่น x = 5; y = ++x ; หมายถึง ให้เพิ่มค่า x ก่อนแล้วค่อยนำไปเก็บไว้ใน y ในที่นี้ y จะมีค่า 6 x มีค่า 6

การเขียนแบบเติมหลัง ให้ดำเนินการก่อนแล้วค่อยเพิ่มหรือลดค่าตัวแปร ตัวอย่างเช่น x = 5; y = x++ ; หมายถึง ให้นำ x ไปเก็บไว้ใน y ก่อนแล้วค่อยเพิ่มค่า x อีก 1 ในที่นี้ y จะมีค่า 5 x จะมีค่า 6

!, ++, --, -x(เครื่องหมายลบหน้าตัวเลข) ลำดับในการดำเนินงาน ลำดับที่ ตัวดำเนินการ 1 () 2 !, ++, --, -x(เครื่องหมายลบหน้าตัวเลข) 3 *, /, % 4 +, - 5 <, <=, >, >= 6 = =, != 7 && 8 || 9 *=, /=, %=, +=, -=

ตัวอย่าง 7.3 การใช้ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์

ผลการรัน ตัวอย่าง 7.3