ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ความต่อเนื่อง (Continuity)
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
ความน่าจะเป็น Probability.
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
Tacoma Narrowed Bridge
โจทย์ 1. x + y + 2z + 3w = 13 x - 2y + z + w = 8 3x + y + z - w = 1
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
แฟกทอเรียล (Factortial)
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ความสัมพันธ์ดีกรี n และการประยุกต์ใช้งาน
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
ขั้นตอนวิธีของยุคลิด
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การค้นในปริภูมิสถานะ
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5 คอนกรูเอนซ์เชิงเส้น ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5

คอนกรูเอนซ์เชิงเส้น คอนกรูเอนซ์ที่อยู่ในรูป ax  b (mod m) โดยที่ m เป็นจำนวนเต็มบวก a,b เป็นจำนวนเต็มและ x เป็นตัวแปร จะเรียก คอนกรูเอนซ์ นี้ว่า คอนกรูเอนซ์เชิง เส้น และเรียกจำนวนเต็ม x0 ที่สอดคล้องกับ ax  b (mod m) ว่า ผลเฉลย ของ คอนกรูเอนซ์เชิงเส้นนี้

วิธีการหาผลเฉลยของคอนกรูเอนซ์เชิงเส้น สามารถทำได้หลายวิธี วิธีหนึ่งคือ การแทนค่า x ด้วย 0,1,2,…,m-1 ถ้า m เป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่าไม่ มาก

ตัวอย่างการหาผลเฉลยของคอนกรูเอนซ์เชิงเส้น จงหาผลเฉลยของคอนกรูเอนซ์เชิงเส้น 5x  2 (mod 6) วิธีทำ แทนค่า x ด้วย 0,1,2,3,4 และ 5 จะได้ว่า 5•0  2 (mod 6), 5•1  2 (mod 6) 5•2  2 (mod 6), 5•3  2 (mod 6) 5•4  2 (mod 6), 5•5  2 (mod 6) ดังนั้น ผลเฉลยของคอนกรูเอนซ์นี้คือ x = 4 (mod 6) ซึ่งหมายถึงจำนวนเต็ม x  {…,-8,-2,4,10,…}

ตัวอย่างการหาผลเฉลยของคอนกรูเอนซ์เชิงเส้น จงหาผลเฉลยของคอนกรูเอนซ์เชิงเส้น 2x  3 (mod 4) วิธีทำ แทนค่า x ด้วย 0,1,2 และ 3 จะได้ว่า 2•0  3 (mod 4), 2•1  3 (mod 4) 2•2  3 (mod 4), 2•3  3 (mod 4) ดังนั้น คอนกรูเอนซ์นี้ไม่มีผลเฉลย