ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
C1 : CPT.
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ โดย นางสุมิตรา ดีมี
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
บทที่ 9: ผลของการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่อการค้าระหว่างประเทศ
3.4 ประโยชน์จากการค้าภายใต้ข้อสมมติต้นทุนเพิ่มขึ้น
สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี 19 พฤษภาคม 2552
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
การประยุกต์ใช้โปรแกรม MS-Excel
โครงงานสุขศึกษาและพลศึกษาเรื่อง ปปัญจธรรม3และการกระทำของวัยรุ่น เสนอ อาจารย์ ทัศนีย์ ไชยเจริญ อาจารย์ ศราวุธ ไชยเจริญ โดย ด.ช.ภาณุพงศ์ รักเชื้อ.
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
Microsoft Excel 2007.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต รหัสวิชา
Multiplexing and Network Multiplexing
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
VBA : Properties and Method of Ranges
Bayes’ Theorem Conditional Prob มีหลาย condition A1, A2, A3, …., An
คู่มือการใช้งาน รถน้ำเอนกประสงค์.
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
ระบบจำนวน (Number System)
Equilibrium of a Rigid Body
วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี (M DM SM ) M1 : จำนวนผู้เรียนวิชาชีพระยะสั้น เพิ่มขึ้น 20% ภายใน 31 พ. ค. 51 CP1 : ก กก การประชาสัมพันธ์
Module 2 : จัดทำแผนผังการวิเคราะห์องค์กร
ว่าที่ร้อยตรีสมศักดิ์ พรหมดำ นักวิชาการฝึกอาชีพ 7 ว กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหาร กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ; Bs.ME, Be,ME, Ms.ME การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual)
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การใช้คำสั่งเงื่อนไขใน exel
คุณสมบัติการหารลงตัว
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
สมบัติของความสัมพันธ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ความสัมพันธ์ดีกรี n และการประยุกต์ใช้งาน
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ระบบการประเมินองค์กร ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ
วิธีทำ ตัวอย่างที่ วิธีทำ สินค้าทั้งหมดของ โรงงาน ตัวอย่างที่ 2.20.
Certification Authority
An Online Computer Assisted Instruction Development of Electronics Devices Subject for Learning Effectiveness Testing By Assoc.Prof. Suwanna Sombunsukho.
ใช้นับจำนวนแบบมีเงื่อนไข รูปแบบฟังก์ชัน
กับงานทันตสาธารณสุข สินีนาฎ พรัดมะลิ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ
สถาบันสอนภาษา I.C.E. ใช้มาตรฐานการเรียนการสอนของยุโรปที่ถือเป็นมาตรฐานภาษาสากลของโลกคือ CEFR (Common European Framework of Reference for Languages) หรือมาตรฐานการประเมินความสามารถทางภาษาซึ่งแต่เดิมสภายุโรปใช้ในโครงการ.
การทำเหมืองข้อมูล (Data Mining)
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
งานเครื่องล่างรถยนต์
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
Relational Algebra. Traditional set Operator Union Intersection Difference Cartesian product.
การวนทำซ้ำ do การทำงานที่ต้องการวนซ้ำ until ( เงื่อนไขที่ใช้วน ) while ( เงื่อนไขที่ใช้วน ) การทำงานที่ต้องการวนซ้ำ endwhile.
C1 : 2 sides-skin A1 : Hi-Light Box B1 : Big Box (Top) B2 : Big Box (Middle) C1 : 2 sides-skin.
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2 ฟังก์ชันผกผัน ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2

บทนิยาม ฟังก์ชัน f:A  B เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (one-to-one function หรือ injection) ก็ ต่อเมื่อ ถ้า f(a1) = f(a2) แล้ว a1 = a2 สำหรับทุกๆ a1,a2  A

บทนิยาม ฟังก์ชัน f:A  B เป็นฟังก์ชันจากเซต A ไป ทั่วถึง B (onto function) ถ้าเรนจ์ของ f คือ B

ตัวอย่าง ให้ A = {a1,a2,a3}, B = {b1,b2,b3} C = {c1,c2,c3}, D = {d1,d2,d3,d4} f1={(a1,b2),(a2,b3),(a3,b1)} f2 = {(a1,d2),(a2,d1),(a3,d4)} f3 = {(b1,c2),(b2,c2),(b3,c3)} f4 = {(d1,b1),(d2,b2),(d3,b1)}

จะได้ว่า ให้ A = {a1,a2,a3}, B = {b1,b2,b3} C = {c1,c2,c3}, D = {d1,d2,d3,d4} f1={(a1,b2),(a2,b3),(a3,b1)} f1 เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B f2 = {(a1,d2),(a2,d1),(a3,d4)} f2 เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง D

จะได้ว่า ให้ A = {a1,a2,a3}, B = {b1,b2,b3} C = {c1,c2,c3}, D = {d1,d2,d3,d4} f3 = {(b1,c2),(b2,c2),(b3,c3)} f3 เป็นฟังก์ชันจาก B ไป C f4 = {(d1,b1),(d2,b2),(d3,b1)} f4 ไม่ใช่ฟังก์ชันจาก D ไป B แต่เป็นฟังก์ชันจาก {d1,d2,d3} ไป B

ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าฟังก์ชัน f ต่อไปนี้ f-1 เป็นฟังก์ชัน หรือไม่