การชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด การบริหารจัดการความเสี่ยงตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 2 SP7 ผ่านระบบวิดีทัศน์ทางไกลของกระทรวงมหาดไทย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยวัด : ระดับ คำอธิบาย.
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
1. แบบ SNRU-ERM 1 แบบแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน (Key Process)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
กลุ่มที่ 3.
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
1 การดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การ สู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลตามเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด การบริหารจัดการความเสี่ยงตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 2 SP7 ผ่านระบบวิดีทัศน์ทางไกลของกระทรวงมหาดไทย วันที่ 2 พฤศจิกายน 2552 เวลา 13.30 น.

การดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยงตามเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 SP 7 SP 7 จังหวัดต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง ตามมาตรฐาน COSO เพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดำเนินแผนงาน/โครงการที่สำคัญซึ่งต้องครอบคลุมความเสี่ยง ด้านธรรมาภิบาล หมวด 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ (SP)

SP 7 การบริหารความเสี่ยง คือ กระบวนการที่เป็นระบบในการบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรมรวมทั้งกระบวนการการดำเนินการต่างๆ เพื่อลดมูลเหตุของโอกาสที่จะทำให้เกิดความเสียหาย จากการดำเนินการที่ไม่เป็นไปตามแผน เพื่อให้ระดับของ ความเสี่ยงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ในระดับ ที่สามารถยอมรับได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างเป็นระบบ โดยในการดำเนินการบริหารความเสี่ยงตาม SP 7 นั้น มุ่งเน้นแผนงาน/โครงการที่สำคัญซึ่งผลสำเร็จของแผนงาน/โครงการ มีผลกระทบสูงต่อการบรรลุความสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์

ประเด็นยุทธศาสตร์ละอย่างน้อย 1 แผนงาน/โครงการ SP 7 จังหวัดต้องมีการวิเคราะห์ และบริหารจัดการความเสี่ยง ตามประเด็นยุทธศาสตร์ให้ครบถ้วน ทุกประเด็นยุทธศาสตร์ คัดเลือกแผนงาน/โครงการที่สำคัญและมีผลกระทบสูงต่อการบรรลุความสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์ และเป็นโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประเด็นยุทธศาสตร์ละอย่างน้อย 1 แผนงาน/โครงการ เพื่อจัดการกับการเปลี่ยนแปลงที่อาจส่งผลกระทบต่อความสำเร็จหรือการบรรลุเป้าหมายของแผนงาน/โครงการ

จังหวัดต้องมีขั้นตอนการดำเนินการ หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission) คือ... การกำหนดเป้าหมายการบริหารความเสี่ยง (Objective Setting) การระบุความเสี่ยงต่างๆ (Event Identification) การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) กลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการกับแต่ละความเสี่ยง (Risk Response) กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง (Control Activities) ข้อมูลและการสื่อสารด้านบริหารความเสี่ยง (Information and Communication) การติดตามผลและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่างๆ (Monitoring)

ประสิทธิผล (Effectiveness) ประสิทธิภาพ (Efficiency) จังหวัดต้องนำแนวคิดเรื่องธรรมาภิบาล ที่เกี่ยวข้องมาเป็นปัจจัยในการวิเคราะห์ ความเสี่ยงด้วย ประสิทธิผล (Effectiveness) ประสิทธิภาพ (Efficiency) การมีส่วนร่วม (Participation) ความโปร่งใส (Transparency) การตอบสนอง (Responsiveness) ภาระรับผิดชอบ (Accountability) นิติธรรม (Rule of Law) การกระจายอำนาจ (Decentralization) ความเสมอภาค (Equity) ความเสี่ยงเรื่องธรรมาภิบาล ที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินแผนงาน/โครงการเพื่อให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ได้แก่

A D L ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วนจะพิจารณา จาก... คัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 อย่างน้อยประเด็นยุทธศาสตร์ละ 1 แผนงาน/โครงการ โดยเป็นแผนงาน/โครงการ ที่ได้รับงบประมาณและ มีผลกระทบสูงต่อการบรรลุความสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์นั้นๆ วิเคราะห์ความเสี่ยงของแผนงาน/โครงการ ตามมาตรฐาน COSO ซึ่งต้องนำความเสี่ยงเรื่อง ธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องมาเป็นปัจจัยในการวิเคราะห์ด้วย มีแผนบริหารความเสี่ยง ที่สอดคล้องกับผลการผลการวิเคราะห์ ดำเนินการ ตามแผนบริหารความเสี่ยง ที่กำหนดไว้ แสดงให้เห็นถึงวิธีการหรือช่องทางที่ใช้ ในการสื่อสาร ทำความเข้าใจ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำแผนบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติได้ มีการรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงต่อผู้บริหารอย่างน้อย 2 ไตรมาส โดยสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรคที่พบ พร้อมให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไข จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง พร้อมทั้งแสดงผลสำเร็จเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินการตามแผนฯ เมื่อสิ้นปีงบประมาณ หมายเหตุ กรณีเป็นแผนงาน/ โครงการที่ดำเนินการต่อเนื่อง ในปีงบประมาณต่อไป จะต้องมีการสรุปวิเคราะห์ ความเสี่ยงที่เหลืออยู่ด้วย

ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน A ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน ค่าน้ำหนัก ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนน ถ่วงน้ำหนัก แสดงเหตุผล/วิธีการ หลักเกณฑ์ ในการคัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 อย่างน้อยประเด็นยุทธศาสตร์ละ 1 แผนงาน/โครงการ โดยเป็นแผนงาน/โครงการที่ได้รับงบประมาณ และมีผลกระทบสูง ต่อการบรรลุความสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์นั้น 0.5 แสดงให้เห็นถึงวิธีการคัดเลือกแผนงาน/โครงการ โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาที่ชัดเจน และแสดงให้เห็นถึงความสำคัญหรือผลกระทบของโครงการที่มีต่อความสำเร็จตามประเด็น ยุทธศาสตร์นั้นๆ (โดยคัดเลือก) อย่างน้อยประเด็นยุทธศาสตร์ละ 1 โครงการ 0.1 วิเคราะห์ความเสี่ยงของแผนงาน/โครงการ ตามมาตรฐาน COSO ซึ่งต้องนำความเสี่ยงเรื่อง ธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องมาเป็นปัจจัย ในการวิเคราะห์ด้วย มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ ที่คัดเลือกมาดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนตามหลักการของ COSO (7 ขั้นตอน) 0.2

ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน A ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน ค่าน้ำหนัก ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนน ถ่วงน้ำหนัก มีแผนบริหารความเสี่ยงที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ และมีตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนฯ ที่ประเมินผลได้ชัดเจน มีผลการวิเคราะห์การประเมิน ความเป็นไปได้ และ ความรุนแรง ของความเสี่ยง โดยครอบคลุม หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) อย่างครบถ้วน 0.1 มีการกำหนดแนวทาง/วิธีการและกรอบระยะเวลาในการติดตามประเมินผล การดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงไว้อย่างน้อย 2 ไตรมาส (ไม่รวมการสรุปประเมินผล ณ สิ้นปีงบประมาณ) 0.005 แผนบริหารความเสี่ยงได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารภายในเดือนมีนาคม 2553 (และก่อนนำไปปฏิบัติ)

ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน D ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน ค่าน้ำหนัก ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนน ถ่วงน้ำหนัก ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงที่กำหนดไว้ 0.3 มีหลักฐานแสดงการดำเนินการ ตามกิจกรรม/โครงการที่กำหนดไว้ ในแผนบริหารความเสี่ยง 0.15 แสดงให้เห็นถึงวิธีการหรือช่องทาง ที่ใช้ในการสื่อสาร ทำความเข้าใจ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำแผนบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติได้ มีมาตรการ/กิจกรรม/ช่องทางที่แสดง ให้เห็นถึงการสื่อสาร ทำความเข้าใจ ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทราบถึง แผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน

ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน L ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน ค่าน้ำหนัก ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนน ถ่วงน้ำหนัก มีการรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงต่อผู้บริหารอย่างน้อย 2 ไตรมาส โดยสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรคที่พบ พร้อมให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไข 0.2 มีการรายงานสรุปผลความคืบหน้าของการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงตามแนวทาง/วิธีการและกรอบระยะเวลาที่กำหนดไว้ให้ผู้บริหารทราบและมีความถี่ครบตามที่กำหนดไว้ (ไม่น้อยกว่า 2 ไตรมาส และไม่รวมการสรุปผล ณ สิ้นปีงบประมาณ) 0.05 เนื้อหาของการรายงานสรุปผลแสดง ให้เห็นถึงความคืบหน้าของกิจกรรม/โครงการที่กำหนดไว้ในแผนบริหาร ความเสี่ยง โดยแสดงความสัมพันธ์ กับผลการดำเนินโครงการที่คัดเลือกมาดำเนินการ

ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน L ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน ค่าน้ำหนัก ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนน ถ่วงน้ำหนัก จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง พร้อมทั้งแสดงผลสำเร็จเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินการตามแผนฯ เมื่อสิ้นปีงบประมาณ หมายเหตุ กรณีเป็นแผนงาน/โครงการที่ดำเนินการ ต่อเนื่องในปีงบประมาณต่อไป จะต้องมีการสรุปวิเคราะห์ความเสี่ยง ที่เหลืออยู่ มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง (ณ สิ้นปีงบประมาณ) ซึ่งประกอบด้วย 1. กิจกรรม/โครงการตามแผนบริหารความเสี่ยงที่ดำเนินการแล้วครบถ้วนเสร็จร้อยละ 100 0.025 2. ผลการประเมินความเสี่ยงที่เหลืออยู่ (หลังจากดำเนินการตามแผนแล้วเสร็จ) โดยแสดงให้เห็นถึงปัจจัยเสี่ยงที่สามารถควบคุม/บริหารจัดการได้และปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุม/บริหารจัดการให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (เฉพาะกรณีเป็นแผนงาน/โครงการที่ดำเนินการต่อเนื่องในปีงบประมาณต่อไป) - หากส่วนราชการเลือกโครงการที่ดำเนินการเสร็จสิ้นในปีงบประมาณ 53 ทั้งหมด ให้ส่วนราชการใส่ Y ในประเด็นการประเมินนี้ด้วย ซึ่งถือว่าได้รับคะแนนนี้ไปโดยปริยาย

ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน L ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการ ที่ครบถ้วน ค่าน้ำหนัก ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนน ถ่วงน้ำหนัก 3. สรุปบทเรียน และ ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงในปีต่อไป 0.025 4. ผู้บริหารให้ความเห็นชอบ/รับทราบรายงานสรุปผลภายในวันที่ 15ต.ค.2553 น้ำหนักรวม SP - 7 1.00

ศึกษา ทำความเข้าใจได้จาก Self-Learning Toolkits และเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร.www.opdc.go.th

Contact Person ____ __ โทรศัพท์ E-mail ____ __ Contact Person โทรศัพท์ E-mail สำนักติดตามและประเมินผล สำนักงาน ก.พ.ร. นางสาวสาวิตรี เพ็งผาสุข 02-356-9999 ต่อ 8867 Fax. 02-281-8279 savitree@opdc.go.th บริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จำกัด นายสมชาย ไตรรัตนภิรมย์ 0-2231-3011 ต่อ 300 Somchai@tris.co.th นางสาวบงกช นุตพงษ์ 0-2231-3011 ต่อ 312 Bongkot@tris.co.th นายวรพัฒน์ เมฆสวรรค์ 0-2231-3011 ต่อ 356 worapat@tris.co.th Fax: 0-2231-3680, 0-2231-3682 Website: www.tris.co.th