แนวทางการดำเนินการลดขั้นตอน
HPO การนำยุทธศาสตร์ การควบคุม กำกับ การวางยุทธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัติ เพื่อเป็นการถ่ายทอดนโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มากำหนดเป็นทิศทางการปฏิบัติราชการ (ยุทธศาสตร์)ของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน เพื่อเป็นการถ่ายทอดยุทธศาสตร์มาเป็นแผนการปฏิบัติงานราชการประจำปี คือ โครงการ ที่แสดงรายละเอียดผลผลิต ผลลัพธ์ ทรัพยากรที่จะใช้ มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในการดำเนินงานด้านต่างๆ แผนการใช้เงิน การบริหารเงินสดผ่านระบบ GFMIS ทั้งนี้ ให้มีการวิเคราะห์ gaps ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทำการบริหารการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนงาน เทคโนโลยี พัฒนาขีดความสามารถ กระบวนทัศน์ ค่านิยมของบุคลากร เพื่อเป็นการทบทวน ติดตาม ประเมินผลตามแผนการปฏิบัติราชการ โดยให้หน่วยงานจัดทำ SAR และให้มีการเข้าไปตรวจสอบ ทานผล รวมทั้งให้ผู้ประเมินอิสระเป็นผู้ประเมินผลด้วย ให้มีการให้รางวัลตอบแทนผลการปฏิบัติงานที่บรรลุตามเป้าหมาย วัฒนธรรมองค์การ ปรับเปลี่ยน ออกแบบองค์การ และกระบวนงาน บริหารทุนด้าน ทรัพยากรบุคคล ยุทธศาสตร์ จัดการ ตลาดและ ลูกค้าสัมพันธ์ จัดการข้อมูล บริหาร บริหารจัดการ ด้านการเงิน ประเมินผล การปฏิบัติงาน สร้างเครือข่าย HPO การควบคุม กำกับ ยุทธศาสตร์ (Strategic Control) การนำยุทธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัติ (Strategy Implementation) การวางยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) Strategy Map วิธีการ Value Chain Individual SC Networking ศูนย์บริการร่วม SWOT Analysis Benchmarking Structure Design PMQA ประเมินความคุ้มค่า การจัดทำบัญชีต้นทุน GSMS/GFMIS Risk Management Capacity Building Blueprint for Change Process Improvement Change Management Technology Development Knowledge Management eAuction/eProcurement สำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ Participation Balanced Scorecard
คุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาและปรับปรุง คุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ประชาชนผู้รับบริการ ประชาชนผู้รับบริการ การวัดผล (C) การปฏิบัติ (D) การวางแผน (P) การปรับปรุง (A) ความต้องการ ผลลัพธ์ ความ พึงพอใจ ความจำเป็น กระบวนการ ให้บริการ บริการ ปัจจัยเข้า ผลผลิต
การพัฒนาการให้บริการประชาชน ณ สำนักงาน ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ บริการ แยกส่วน Call Center ออกหน่วย เคลื่อนที่ ศูนย์บริการร่วม ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ราชการเป็นศูนย์กลาง
เหตุผลความจำเป็นในการลดขั้นตอนฯ กฎหมาย กฎ ระเบียบ และนโยบายของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญกับการลดขั้นตอนและระยะเวลาฯ ที่ทุกหน่วยงานจะต้องดำเนินการ ที่สำคัญ ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 3/1 แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฯ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย นโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 19 พฤษภาคม 2546
การค้นหาระยะเวลาที่ใช้ในปัจจุบัน แนวทางดำเนินการลดขั้นตอนฯ คำจำกัดความ ความหมาย ข้อตกลง การสำรวจ งานบริการ การค้นหาระยะเวลาที่ใช้ในปัจจุบัน ลดขั้นตอน ลดระยะเวลา การคัดเลือก กระบวนงาน ประเมิน ตนเอง ปรับปรุงการบริการ เสนอ กระบวน งานที่ ขอรับ รางวัล สิ่งอำนวย ความสะดวก เทคนิคการ ปรับปรุงงาน เตรียมพร้อม รับการตรวจสอบ
การดำเนินการลดขั้นตอนและระยะเวลา ดำเนินการต่อเนื่องตั้งแต่ ปี 2547 - 2550 ปีละไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 กระบวนงานที่ลดได้ไม่ถึงร้อยละ 30 ต้องนำมาดำเนินการใหม่ กระบวนงานที่ลดได้ร้อยละ 30 – 50 จะนำมาดำเนินการใหม่หรือไม่ก็ได้
การดำเนินการลดขั้นตอนและระยะเวลา (ต่อ) กรณีที่ดำเนินการครบทุกกระบวนงานแล้ว หรือกรณีที่ไม่สามารถลดระยะเวลาอีกได้ เสนอรายละเอียดแต่ละกระบวนงาน สำนักงาน ก.พ.ร. วิเคราะห์รายกระบวนงาน เจรจาหาข้อตกลงร่วมกัน ลดระยะเวลารอคอย รักษามาตรฐานการบริการ
การรายงานผลการดำเนินการ รายงานตามมติคณะรัฐมนตรี รายงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
การรายงานผลการดำเนินการ (ต่อ) การรายงานตามมติคณะรัฐมนตรี รายชื่อกระบวนงานที่เสนอแต่ละปี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25) ร้อยละของระยะเวลาที่ลดลงได้ของแต่ละกระบวนงาน เสนอกระบวนงานที่ประสงค์จะขอรับรางวัล
การรายงานผลการดำเนินการ (ต่อ) รายงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กระบวนงานที่เสนอปี 2547-2549 ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 เป้าหมายในการลดระยะเวลา ระบุน้ำหนักแต่ละกระบวนงาน ร้อยละของระยะเวลาที่ลดลงได้ของแต่ละกระบวนงาน หากมีหน่วยงานสาขาให้ดำเนินการทุกสาขา ราชการส่วนกลางเสนอเฉพาะกระบวนงานของส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค จังหวัด เป็นผู้เสนอ รายงานผลรวมของการลดระยะเวลา
การให้คะแนนตามตัวชี้วัด ลดได้ร้อยละ ได้คะแนน 10 1 20 2 30 3 40 4 50 5
การให้คะแนนสำหรับตัวชี้วัดของสำนักงาน ก.พ.ร. (ผลักดันกรม) กำหนดหลักเกณฑ์ในการจำแนกกระบวนงานที่ส่วนราชการต้องจัดให้บริการประชาชน ระดับ 1 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจริงจากส่วนราชการตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ระดับ 2 การจัดทำรายงานสรุปการดำเนินการและนำเสนอต่อ อ.ก.พ.ร. ระดับ 3 ร้อยละ 75 ของจำนวนงานบริการตามฐานข้อมูลของส่วนราชการที่ส่วนราชการสามารถลดรอบระยะเวลาได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ระดับ 4 จัดทำรายงานสรุปภาพรวมของฐานข้อมูลสำหรับระบบการลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภาครัฐและระบุปัญหาและอุปสรรคที่ต้องเร่งแก้ไขเพื่อสนับสนุนส่วนราชการ ระดับ 5
การพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ การบริการประชาชน
2. การจัดทำข้อเสนอเพื่อขอรับรางวัล การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน 1. ประเภทรางวัล 2. การจัดทำข้อเสนอเพื่อขอรับรางวัล 3. แนวทางการตรวจประเมินเพื่อให้รางวัล 4. เกณฑ์การให้คะแนน
การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 1. ประเภทรางวัล 1) รางวัลรายกระบวนงาน 2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน 3) รางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลาย ส่วนราชการ
การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 2. การจัดทำข้อเสนอเพื่อขอรับรางวัล 1) รางวัลรายกระบวนงาน เตรียมข้อมูล รายงานผลการดำเนินงานเชิงปริมาณ (แบบฟอร์ม 1.1 ตัวอย่าง 1.2A) รายงานผลดำเนินงานเชิงคุณภาพ (แบบฟอร์ม 1.3 ตัวอย่าง 1.4) รายงานผลการประเมินตนเอง (แบบฟอร์ม 1.5 ตัวอย่าง 1.6) ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร.
รายงานผลการดำเนินงานเชิงปริมาณ(แบบฟอร์ม 1.1) การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 1) รางวัลรายกระบวนงาน รายงานผลการดำเนินงานเชิงปริมาณ(แบบฟอร์ม 1.1) ขั้นตอนและระยะเวลาที่ลดลงได้ ร้อยละความพึงพอใจของประชาชน จำนวนสิ่งอำนวยความสะดวก จำนวนผู้ใช้บริการ
รายงานผลดำเนินงานเชิงคุณภาพ (แบบฟอร์ม 1.3) การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 1) รางวัลรายกระบวนงาน รายงานผลดำเนินงานเชิงคุณภาพ (แบบฟอร์ม 1.3) เปรียบเทียบลักษณะการปฏิบัติงานเดิมและใหม่ แนวคิด วิธีการลดขั้นตอนและระยะเวลาฯ แนวคิด วิธีการในการให้ความสำคัญกับประชาชน แนวคิด วิธีการในการอำนวยความสะดวก แนวคิด วิธีการในการส่งเสริมของผู้บริหารและการ เรียนรู้ แนวทางการพัฒนาในอนาคต
ประเมินใน 4 มิติ การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 1) รางวัลรายกระบวนงาน รายงานผลการประเมินตนเอง(แบบฟอร์ม 1.5) ประเมินใน 4 มิติ มิติการลดขั้นตอนและระยะเวลาฯ มิติการให้ความสำคัญกับประชาชน มิติการอำนวยความสะดวก มิติการส่งเสริมของผู้บริหารและการเรียนรู้
แนวทางการประเมินในแต่ละมิติ การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 1) รางวัลรายกระบวนงาน รายงานผลการประเมินตนเอง(แบบฟอร์ม 1.5) แนวทางการประเมินในแต่ละมิติ มีแนวทางชัดเจน ทำซ้ำได้ นำไปใช้อย่างครอบคลุมและทั่วถึง มีการปรับปรุงพัฒนาและการเรียนรู้
แนวทางการประเมินในแต่ละมิติ การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 1) รางวัลรายกระบวนงาน รายงานผลการประเมินตนเอง(แบบฟอร์ม 1.5) แนวทางการประเมินในแต่ละมิติ 0% = ไม่มีแนวทาง หรือไม่มีการดำเนินการ 10-30% = เริ่มมีแนวทาง เริ่มดำเนินการ 40-50% = มีแนวทาง มีการดำเนินการ 55-70% = มีแนวทางชัดเจน นำไปใช้ทุกหน่วยงาน 75-85% = มีแนวทางชัดเจน นำไปใช้ทุกหน่วยงาน มีการ พัฒนาที่ดีขึ้น 90-100% = ออกแบบกระบวนงานใหม่ที่มีประสิทธิภาพ นำไปใช้ทุกหน่วยงาน พัฒนาให้เป็นแบบอย่างแก่ หน่วยงานอื่นได้
การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน เตรียมข้อมูล รายงานผลการดำเนินงานเชิงปริมาณ (แบบฟอร์ม 1.1 ตัวอย่าง 1.2B) รายงานผลดำเนินงานเชิงคุณภาพ (แบบฟอร์ม 1.3 ตัวอย่าง 1.4) รายงานผลการประเมินตนเอง (แบบฟอร์ม 1.5 ตัวอย่าง 1.6) รายงานผลการดำเนินงานเพิ่มเติม ส่งเอกสารไปยังสำนักงาน ก.พ.ร.
การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน (1) รายงานผลการดำเนินการเชิงปริมาณ (แบบฟอร์ม 1.1) (2) รายงานผลการดำเนินการเชิงคุณภาพ (แบบฟอร์ม 1.3) (3) รายงานผลประเมินตนเอง (แบบฟอร์ม 1.5) ดำเนินการเช่นเดียวกับรางวัลรายกระบวนงาน
การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 2) รางวัลภาพรวมกระบวนงาน (4) รายงานผลการดำเนินการเพิ่มเติม (แบบฟอร์ม1.7) ค่าเฉลี่ยของผลการดำเนินเชิงปริมาณ วิธีการสนับสนุนสำนักงานพื้นที่และจังหวัด ผลการสนับสนุนสำนักงานพื้นที่และจังหวัด
การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 2) รางวัลกระบวนงานที่มีความเชื่อมโยงหลายส่วนราชการ (1) ลักษณะของกระบวนงาน ลักษณะการบริการและความเชื่อมโยง กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมา (2) วิธีการดำเนินการในการแก้ไขปัญหา เทคนิคและวิธีการแก้ไขปัญหา แผนผังแสดงขั้นตอนและระยะเวลา (3) ผลดำเนินการแก้ไขปัญหา ผลการปฏิบัติงานที่แสดงถึงประสิทธิภาพ การแก้ไข กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ การจัดทำข้อตกลงร่วม
การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 3. แนวทางการตรวจประเมินเพื่อให้รางวัล ตรวจประเมินจากรายงานผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ ระยะที่ 1 ผลงานเชิงปริมาณ (400 คะแนน) ผลงานเชิงคุณภาพประกอบกับผลการประเมินตนเอง (600 คะแนน) ตรวจเยี่ยมผลการปฏิบัติงานจริง ปรับลดคะแนนตามสัดส่วนตัวคูณ (คะแนนที่ได้จากระยะที่ 1 คูณด้วยสัดส่วนตัวคูณ) เกณฑ์การปรับลดคะแนน ระยะที่ 2
ระดับความเบี่ยงเบนที่พบ การพิจารณารางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน (ต่อ) 4. เกณฑ์การให้คะแนน ตัวคูณ ระดับความเบี่ยงเบนที่พบ 1 ไม่พบความเบี่ยงเบน 0.95 – 0.85 พบความเบี่ยงเบนแต่ไม่มีนัยสำคัญ 0.80 – 0.70 พบความเบี่ยงเบนที่อาจส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ 0.60 – 0.40 พบความเบี่ยงเบนที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ 0.30 – 0.10 พบความเบี่ยงเบนที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถืออย่างรุนแรง
Question and Answer