Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 2 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ไฟล์ A ไฟล์ B โปรแกรม A ไฟล์ A ไฟล์ C โปรแกรม B ระบบการประมวลผลไฟล์ข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 3 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ข้อดีของระบบไฟล์ 1. การประมวลผลรวดเร็ว 2. ต้นทุนต่ำ 3. โปรแกรมประยุกต์แต่ละโปรแกรมสามารถควบคุมไฟล์ข้อมูลของตนเองได้
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 4 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ข้อเสียของระบบไฟล์ 1. เกิดการซ้ำซ้อนของข้อมูล (Redundancy) 2. มีความยุ่งยากในการประมวลผลไฟล์ข้อมูลหลายไฟล์ข้อมูล 3. เกิดความขึ้นต่อกัน (Dependency) 4. ไม่มีผู้ควบคุมหรือรับผิดชอบทั้งระบบ 5. ข้อมูลไม่ทันสมัย (Update)
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 5 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ฐานข้อมูล (Database) คือการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กันไว้ในที่เดียวกัน ในการจัดการกับฐานข้อมูลนั้นต้องใช้โปรแกรมที่ทำหน้าที่เฉพาะด้านเรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 6 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ข้อมูล A ข้อมูล B ข้อมูล C โปรแกรม A DBMS โปรแกรม B ระบบการประมวลผลฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 7 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) หน้าที่ของ DBMS 1. สร้างข้อมูล (Create Data) 2. แก้ไขข้อมูล (Edit Data) 3. เรียกใช้ข้อมูล (Use Data)
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 8 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ข้อดีของฐานข้อมูล 1. ใช้ข้อมูลร่วมกัน 2. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล (Redundancy) 3. ข้อมูลมีความทันสมัย (Update) 4. ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ ถูกต้อง (Integrity) 5. ข้อมูลเป็นอิสระกับโปรแกรมประยุกต์ 6. มีผู้ควบคุมเพียงคนเดียว (DBA)
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 9 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ข้อเสียของฐานข้อมูล 1. ค่าใช้จ่ายสูง 2. การสูญเสียข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 1010 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ประเภทของฐานข้อมูล แบ่งเป็น 4 แบบ 1. แบบลำดับขั้น (Hierarchical Database) 2. แบบเครือข่าย (Network Database) 3. แบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) 4. แบบเชิงวัตถุ (Object Oriented Database) 231401 Application of Computer Business Department of Computer Business
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 1111 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น (Hierarchical Database) มีโครงสร้างคล้ายกับต้นไม้ อาจเรียกว่า โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) มีลักษณะความสัมพันธ์เป็น แบบพ่อ-ลูก (Parent - Child) ข้อมูลที่อยู่บนจะเป็นพ่อ (Parent) ส่วนข้อมูลที่อยู่ข้างล่างจะเป็นลูก (Child)
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 1212 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) มีลักษณะคล้ายกับฐานข้อมูลแบบลำดับ แต่มีความสัมพันธ์กับ ข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 1313 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) มีลักษณะการจัดเก็บเป็นแบบตาราง (Table) หรือ Relation ภายในตารางจะประกอบด้วยแถว (Rows) และหลัก (Columns) ข้อมูลในแต่ละแถวจะเรียกว่า เรคคอร์ด (Record)
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 1414 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ฐานข้อมูลแบบเชิงวัตถุ (Object Oriented Database) มีลักษณะการมองข้อมูลออกเป็นวัตถุ ข้อมูลแต่ละข้อมูลจะเป็นอิสระจากกัน ข้อมูลแต่ละข้อมูลจะประกอบด้วยคุณลักษณะ (Attribute) ต่าง ๆ
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 1515 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล แบ่งได้ 3 ลักษณะ 1. หนึ่งต่อหนึ่ง (One to One) 2. หนึ่งต่อกลุ่ม (One to Many) 3. กลุ่มต่อกลุ่ม (Many to Many
การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) Charter 8 1616 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ส่วนประกอบของ DBMS แบ่งได้ 3 ลักษณะ 1. ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) ใช้สำหรับสร้าง ปรับปรุงแก้ไข หรือลบโครงสร้างของฐานข้อมูล (Schema) 2. ภาษาจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) ใช้สำหรับการสร้าง แก้ไข และ ลบข้อมูลภายในตาราง (Table) 3. ภาษาควบคุม (Control Language : CL) ใช้สำหรับควบคุมระบบรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล