พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
บริษัท Phuket Solution Lo.,Ltd
กระบวนการลงทะเบียนควบคุมครุภัณฑ์
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
พยากรณ์การเกิดโรคมาลาเรีย ปี 2555 โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 15 และ 16.
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
พุทธวิธีการสอน (๒) (Buddha's Teaching Methods) รหัสวิชา บส ๐๑๓
03/10/571 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.. 03/10/572 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.
สถานการณ์โรค กุมภาพันธ์ 2555
สัมมนาวิชาการโรคติดต่อที่ก่อให้เกิดความรุนแรงทางระบาดวิทยา
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มิ. ย.- ก. ค ปลาย เม. ย.- พ. ค พ. ย HFMD outbreak 2007 from ProMED- mail post พ. ค
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก กลุ่มงานควบคุมโรค 30 กรกฎาคม 2553.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
 จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease) โดย นายประเทือง ฉ่ำน้อย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 นครสวรรค์

ความสำคัญและสถานการณ์โรค โรคมือเท้าและปาก(Hand Foot and Mouth Disease : HFMD) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสในกลุ่ม Enteroviruses ส่วนใหญ่โรค HFMD โดยเฉพาะที่เกิดจาก coxsackie A16 มักไม่รุนแรง เด็กจะหายเป็นปกติภายใน 7-10 วัน ส่วนที่เกิดจาก EV71 อาจมีอาการทางสมองร่วมด้วย อาจเป็นแบบ aseptic meningitis ที่ไม่รุนแรง หรือมีอาการคล้ายโปลิโอ ส่วนที่รุนแรงมากอาจเสียชีวิตจะเป็นแบบ encephalitis ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

ความสำคัญและสถานการณ์โรค ระยะฟักตัว 3-5 วัน มีอาการไข้สูงเกิน 39๐C 2 วันแล้วจะมีไข้ต่ำๆ ประมาณ 37.5 – 38.5๐C พบตุ่มแผลในปาก เพดานอ่อน ลิ้น กระพุ้งแก้ม อาจมี 2-3 แผล ขนาด 4-8 มิลลิเมตร ตุ่มพอง (vesicles) สีขาวขุ่นบนฐานรอบสีแดง ขนาด 3-7 มิลลิเมตร บริเวณด้านข้างของนิ้วมือ นิ้วเท้า ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ส้นเท้า ส่วนมากมีจำนวน 5-6 ตุ่ม เวลากดจะเจ็บ จะหายไปได้เองในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์ ปีที่ผ่านมีข่าวการระบาดและเสียชีวิต สื่อมวลชนให้ความสนใจนำเสนอข่าวในวงกว้าง 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

ความสำคัญและสถานการณ์โรค 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

ความสำคัญและสถานการณ์โรค 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค ฤดูกาลที่มีการระบาดเป็นช่วงฤดูร้อนต่อต้นฤดูฝน (พฤษภาคม - มิถุนายน) ปัจจัยด้านสถานที่ที่เอื้อต่อการระบาดและมักเกิดขึ้นบ่อย ได้แก่ สถานรับเลี้ยงเด็ก ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล ปัจจัยด้านบุคคลกลุ่มบุคคลที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค พบสูงสุดในเด็กกลุ่มอายุต่ำกว่า 5 ปี 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8 วิธีการคาดการณ์ ใช้อัตราป่วยจากฐานข้อมูล R506 ปี 2546 -2554 ในภาพประเทศ เขต จังหวัด และอำเภอ ทำกราฟเส้นอัตราป่วยเปรียบเทียบในแต่ละระดับ หาแนวโน้มอัตราป่วยโดยกราฟ หาค่า R Square ของเส้นกราฟแนวโน้ม กำหนดค่า R Square ที่ยอมรับได้ที่ระดับ ≥ 0.5 อ่านค่ากราฟแนวโน้มปี 2555 ประกอบกับค่า R Square คาดการณ์หรือพยากรณ์ตามแนวโน้มในกรณีที่ค่า R Square ≥ 0.5 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก ในพื้นที่เขต 18 ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก ในพื้นที่จังหวัดพิจิตร ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก ในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก ในพื้นที่จังหวัดกำแพเพชร ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การพยากรณ์โรคมือเท้าและปาก รายจังหวัดในพื้นที่เขต18 ปี 2555 อัตราป่วย 27/100,000 อัตราป่วย 20.5/100,000 อัตราป่วย 39.5/100,000 อัตราป่วย 32/100,000 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก อำเภอเมืองนครสวรรค์ ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก อำเภอบรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์ ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก อำเภอพยุหะคีรี จ.นครสวรรค์ ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก อำเภอโกสัมพีนคร จ.กำแพงเพชร ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก อำเภอดงเจริญ จ.พิจิตร ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การคาดการณ์โรคมือเท้าและปาก อำเภอทับคล้อ จ.พิจิตร ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8 การคาดการณ์โรคมือเท้าและปากอำเภอ ที่มีแนวโน้มเพิ่มแต่R2<0.5 จ.นครสวรรค์ ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8 การคาดการณ์โรคมือเท้าและปากอำเภอ ที่มีแนวโน้มเพิ่มแต่R2<0.5 จ.อุทัยธานี ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8 การคาดการณ์โรคมือเท้าและปากอำเภอ ที่มีแนวโน้มเพิ่มแต่R2<0.5 จ.กำแพงเพชร ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8 การคาดการณ์โรคมือเท้าและปากอำเภอ ที่มีแนวโน้มเพิ่มแต่R2<0.5 จ.พิจิตร ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การพยากรณ์โรคมือเท้าและปาก รายอำเภอในพื้นที่เขต18 ปี 2555 44.0 / 100,000 (2554:42.70) 7.0 / 100,000 (2554:4.37) 38.0 / 100,000 (2554:24.11) 28.0 / 100,000 (2554:24.27) 56.0 / 100,000 (2554:37.76) 7.0 / 100,000 (2554:4.37) 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

การพยากรณ์ช่วงเวลาที่เกิดโรคมือเท้าและปาก ในพื้นที่เขต18 ปี 2555 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8

พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8 Thank you 04/04/60 พยากรณ์มือเท้าและปากสคร.8