การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
บทที่ 6 การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
การสุ่มงาน(Work Sampling)
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
พาราโบลา (Parabola).
Sampling Distribution
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
Probability & Statistics
อสมการ.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การประมาณค่าทางสถิติ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Graphical Methods for Describing Data
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
Operators ตัวดำเนินการ
Quadratic Functions and Models
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
สถิติในการวัดและประเมินผล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
Operators ตัวดำเนินการ
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
คะแนนและความหมายของคะแนน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
วงรี ( Ellipse).
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
ทรงกลม.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
พิทยา ครองยุทธ พิทยา ครองยุทธ ผู้เขียนเนื้อหา ผู้เขียนเนื้อหา เรื่อง ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความ น่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม เรื่อง ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
พาราโบลา (Parabola).
เฉลยแบบฝึกหัด 3.3 วิธีทำ พิจารณาเครื่องหมายของ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์

หัวข้อการศึกษา 1. การแจกแจงปกติ 2. สมบัติของโค้งปกติ 3. พื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายความหมายของการแจกแจงปกติได้ 2. บอกคุณสมบัติและลักษณะของโค้งปกติได้ 3. คำนวณหาพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานได้

การแจกแจงปกติ (Normal Distribution) เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง โดยมีลักษณะเป็นโค้งปกติ ที่มีพื้นทีใต้โค้งเท่ากับ 1

โค้งปกติ(Normal Curve) เป็นลักษณะโค้งของความถี่ของข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติ เป็นโค้งระฆังคว่ำที่มีลักษณะเป็นสมมาตร ที่มี ค่าเฉลี่ย = มัธยฐาน = ฐานนิยม

โค้งปกติ(Normal Curve) ค่าเฉลี่ย=มัธยฐาน=ฐานนิยม

คุณสมบัติของโค้งปกติ 1. โค้งมีลักษณะเป็นรูประฆังคว่ำที่สมมาตร 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม มีค่าเท่ากัน และอยู่ ณ จุดสูงสุด ของโค้ง

คุณสมบัติของโค้งปกติ 3. พื้นที่ความน่าจะเป็นภายใต้โค้งปกติ มีค่าเท่ากับ 1 หรือ 100% 4. โค้งจะค่อยๆ แผ่ออกไปทั้งสองข้าง แต่จะไม่ตัดแกน ระนาบ

การเปรียบเทียบลักษณะของโค้งปกติ 1. ลักษณะที่ 1

การเปรียบเทียบลักษณะของโค้งปกติ 2. ลักษณะที่ 2

การเปรียบเทียบลักษณะของโค้งปกติ 3. ลักษณะที่ 3

การแจกแจงปกติมาตรฐาน โค้งปกติโดยทั่งไปจะเขียนอยู่คะแนนมาตรฐาน (Standard Score) ใช้สัญลักษณ์ Z ( Z – SCORE) โดยที่ค่าเฉลี่ยและ S.D เป็นค่าคงที่

คะแนนมาตรฐาน (Z) ให้ x เป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงปกติ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ และ ความแปรปรวน

โค้งปกติมาตรฐาน กราฟของการแจกแจงปกติมาตรฐาน -3 -2 -1 1 2 3

พื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน การเปิดตารางเพื่อหาพื้นที่ภาใต้โค้งปกติ Z=0 P(Z<0)=0.5 P(Z>0)=0.5

การเปิดตารางพื้นที่ใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่จากตารางเป็นค่าพื้นที่จาก 0 ถึง 1 2. ตารางค่า Z ไม่มีค่าบวกหรือ ลบ แต่จะเป็นลักษณะสมมาตรกัน

ตัวอย่างการเปิดตาราง หาพื้นที่ใต้โค้งปกติ Z = 1.15 ค่าในตารางจะเริ่มจาก Z = 0 ถึง Z = 1.15 1.15 พื้นที่แรเงา P(0<Z<1.15)=0.3749

การเปิดตาราง พื้นที่ใต้โค้งปกติ (Z = 1.15)=0.3749 Z 0.00 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.0 0.1 0.2 . . . . . 1.1 0.3749 พื้นที่ใต้โค้งปกติ (Z = 1.15)=0.3749

ตัวอย่าง หาพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานต่อไปนี้ 1. ระหว่าง Z = -2.01 ถึง Z = 2.56 2. ระหว่าง Z = 0.58 ถึง Z = 2.5 3. มากกว่า Z = 2.45 4. น้อยกว่า Z = 1.63