ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การทดลองที่ 5 วงจรนับ (Counter)
Advertisements

Combination Logic Circuits
ลอจิกเกต (Logic Gate).
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
Combination Logic Circuit
Number Representations
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
Surachai Wachirahatthapong
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
ขั้นตอนการประมวลผล แบบ FUZZY.
Introduction to Digital System
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
ความหมายของตัวเลขในหลักต่าง ๆ
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
Computer Coding & Number Systems
ERROR (Data Link Layer)
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Basic Programming for AVR Microcontroller
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
CS Assembly Language Programming
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การโปรแกรมPLC.
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
Gate & Circuits.
ระบบเลขฐาน.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
Introduction to Digital System
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล

จุดประสงค์การสอน มีความเข้าใจระบบเลขฐานต่างๆ มีความเข้าใจและสามารถแปลงเลขฐานได้ มีความเข้าใจประเภทของอุปกรณ์อินพุท ของ PLC มีความเข้าใจประเภทของอุปกรณ์เอาท์พุทของ PLC  

เนื้อหาสาระ ระบบเลขฐาน การแปลงเลขฐาน ระบบข้อมูลใน PLC และคอมพิวเตอร์ หน่วย Input / Output วงจรลอจิก  

ระบบเลขฐาน (Number system) ในการทำงานของ PLC อาศัยตัวเลขและหลักคณิตศาสตร์ในการสร้างข้อมูล และช่วยในการประมวลผล โดยใช้หลักการของระบบเลขฐานสอง และ ฐานสิบหก ซึ่งต่างจากระบบเลขฐานสิบ ที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน

ระบบเลขฐาน BCD (Binary Code Decimal : BCD) มีตัวเลขที่ไม่ซ้ำกันทั้งหมด 10 ตัว คือ 0-9 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า BCD Code หรือ 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 และ 9

ระบบเลขฐานสอง (Binary number system : BIN) ระบบเลขฐานสอง คือระบบตัวเลขที่มีค่า ฐานเป็นสอง มีสัญลักษณ์ 2 ตัว คือ 0 กับ 1 ค่าตามตำแหน่งของส่วนที่เป็นจำนวน เต็มของเลขฐานสอง คือ

ตารางเปรียบเทียบเลขฐาน BCD ฐานสอง 1 2 3 4 BCD ฐานสอง 5 6 7 8 9 00 01 10 11 100 101 110 111 1000 1001

ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number : HEX) เลขฐานสิบหก หรือเรียกว่า Hex ประกอบไปด้วยตัวเลขจำนวน 16 ตัว ได้แก่ เลข 0-9 และ ตัวอักษร A-F ใช้แทนตัวเลขอีก 6 ตัวที่เหลือ

ตารางเปรียบเทียบเลขฐาน BCD เลขฐานสอง เลขฐานสิบหก 0000 1 0001 2 0010 3 0011 4 0100

การเปรียบเทียบเลขฐานสิบหก BCD เลขฐานสอง เลขฐานสิบหก 5 0101 6 0110 7 0111 8 1000 9 1001

การเปรียบเทียบเลขฐานสิบหก BCD เลขฐานสอง เลขฐานสิบหก 11 1011 B 12 1100 C 13 1101 D 14 1110 E 15 1111 F

การแปลงเลขฐาน การแปลงเลขฐานสิบให้เป็นเลขฐานสอง การแปลงเลขฐานสองให้เป็นเลขฐานสิบ การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง

การแปลง BCD Code ให้เป็นเลขฐานสอง สามารถทำได้โดยวิธีการหารสั้นด้วยเลขสอง และเขียนผลหารและเศษไว้ และนำผลการหารที่เหลือมาหารด้วย เลขสองจนกระทั่งผลหารเป็นศูนย์ สุดท้ายทำการเขียนเศษที่ได้จากการหารโดยเรียงลำดับจากล่างขึ้นบน

จงแปลง 5810 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสอง จงแปลง 5810 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสอง 58 / 2 = 29 เศษ 0 29 / 2 = 14 เศษ 1 ผลลัพธ์คือ 14 / 2 = 7 เศษ 0 7 / 2 = 3 เศษ 1 5810 = 1110102 3 / 2 = 1 เศษ 1 1 / 2 = 0 เศษ 1

การแปลงเลขฐานสองเป็น BCD code ในการแปลงเลขฐานสอง ให้เป็นเลขฐานสิบ สามารถทำได้โดยการคูณตัวเลขฐานสองยกกำลัง ในแต่ละหลักด้วยค่าประจำหลักคือ 2n (n คือตัวเลขแสดงจำนวนตำแหน่งหลัก)

1110102 = (1x25)+(1x24)+(1x23) +(0x22) +(1x21)+(0x20) = 32+16+8+0+2+0 จงแปลง (11010)2ให้อยู่ในรูปเลขฐานสอง 1110102 = (1x25)+(1x24)+(1x23) +(0x22) +(1x21)+(0x20) = 32+16+8+0+2+0 = 5810

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก ทำได้โดยการแปลงเลขฐานสองทีละ 4 บิต ให้เป็นเลขฐานสิบหก 1 หลัก จากตำแหน่งประจำหลักที่น้อยที่สุด เช่น 1011110010 = 1011110010 = 0010 1111 0010

จงแปลง 010011001010101102 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบหก จงแปลง 010011001010101102 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบหก 0 1001 1001 0101 0110 = 9 9 5 6 = 995616

การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง การแปลงเลขฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานสอง จะต้องทำเลขฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานสองเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 บิต เช่น DF8 จะได้เป็น D F 8

จงแปลงเลข 2FE516 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสอง

ระบบข้อมูลใน PLC และคอมพิวเตอร์ ข้อมูล 1 digit = 4 byte 1 byte = 8 bit 1 word = 16 bit 1 word = 1 channal

หน่วยดิจิตอล Input / Output Digital Input อินพุทประเภทนี้มีสองสภาวะการทำงานคือ เปิด และ ปิด (ON / OFF) Digital Output มีลักษณะการทำงาน สองสภาวะ คือ (On / Off)

หน่วยอนาล็อก Input Analog Input คือ อินพุทที่สามารถรับสัญญาณอนาล็อกที่มีลักษณะเป็นสัญญาณต่อเนื่อง

อินพุทพิเศษเฉพาะงาน เป็นอินพุทที่ออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำงานของ PLC ให้สูงขึ้น เช่น พัลส์อินพุท (Pulse input) จ่ายสัญญาณทำให้ PLC มีความสามารถในการรับสัญญาณที่มีความถี่สูงๆ เช่น Encoder

หน่วยเอาท์พุทพิเศษเฉพาะงาน เอาท์พุทพิเศษเฉพาะงาน เช่น พัลส์เอาท์พุท สามารถนำไปใช้งานควบคุมความเร็วมอเตอร์ หรือ อาจนำไปควบคุมตำแหน่งที่มีความละเอียดโดยผ่านชุดไดร์ฟได้ด้วยวิธี Pulse Train Output หรือ Pulse PWM  

หน่วยอนาล็อก Output เป็นลักษณะการให้สัญญาณออกมาในรูปแบบของสัญญาณต่อเนื่องที่เป็นสัญญาณมาตรฐาน ได้แก่ สัญญาณกระแส 4-20 mA สัญญาณแรงดันมาตรฐาน 0-5 V และ 0-10 V เป็นต้น

ลอจิกเกต (Logic Gate) แอนด์เกต (AND Gate) ออเกต (OR Gate) แนนด์เกต (Nand gate) นอร์เกต (NOR gate) เอ็กคลูซีฟออเกท (Exclusive OR Gate)

AND Gate วงจรลอจิก ตารางความจริง Y = A . B

วงจรการทำงาน

OR Gate วงจรลอจิก ตารางความจริง Y = A + B

NAND Gate วงจรลอจิก ตารางความจริง Y = A . B

นอร์เกต (NOR Gate) วงจรลอจิก ตารางความจริง Y = A + B

เอ็กคลูซีฟออเกท (Exclusive OR Gate) วงจรลอจิก ตารางความจริง Y = A.B + A.B

วงจรสวิทช์

ตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม Zelio soft 2.0

เปิดโปรแกรม

เลือกสร้างโปรแกรมใหม่

เลือกรุ่นตามคุณสมบัติของ PLC กดปุ่ม Next

เลือกส่วนต่อขยายเพิ่มของ PLC

เลือกภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรม

พื้นที่สำหรับการเขียนโปรแกรม

สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง PLC SIEMENS S7-200