เทคนิคการเรียงลำดับ Sorting Techniques

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting).
Advertisements

ความหมายของโครงงาน.
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัลกอริทึม ITS101 2/2011.
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
การประสานงาน.
บริการผลการศึกษาทันใจกับ สทป.
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
ครั้งที่ 12 การค้นหาข้อมูล (Searching)
การเรียงลำดับข้อมูล(Sorting)
กิจกรรมที่ 5 การประมวลผลข้อมูล
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
INDEXED FILES แฟ้มดรรชนี.
การเรียงลำดับและการค้นหาแบบง่าย
การจัดเรียงข้อมูล Sorting.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี อ.เลาขวัญ งามประสิทธิ์
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
จดหมายเวียน (Mail Merge)
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี อ.เลาขวัญ งามประสิทธิ์
Operating System ฉ NASA 4.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การจำแนกบรรทัดข้อความ
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
Searching.
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
Suphot Sawattiwong Lab IV: Array Suphot Sawattiwong
CDEX => MP3 โปรแกรมบันทึกเสียงขนาดเล็ก ปรับปรุง 10 มิถุนายน
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
Data Structure and Algorithm
การจัดเรียงข้อมูล Sorting Internal Sorting External Sorting.
บทที่ 7 การเรียงลำดับแบบภายนอก External Sorting
บทที่ 7 การเรียงลำดับภายนอก External sorting
บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เทคนิคการค้นหาข้อมูล
บทที่ 5 เทคนิคการค้นหาข้อมูล (Searching Techniques)
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
Week 12 Engineering Problem 2
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
Magnetic Particle Testing
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การเรียงข้อมูล 1. Bubble Sort 2. Insertion Sort 3. Heap Sort
ต้นไม้ Tree (2) ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
School of Information Communication Technology,
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
… Cache …L1,L2.
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
Magnetic Tape แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 13 Basic Algorithm 2 (Searching)
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการเรียงลำดับ Sorting Techniques

ความนำ การเรียงลำดับ คือกระบวนการจัดเรียงข้อมูลในตาราง เป็นงานสำคัญทางคอมพิวเตอร์ใช้เวลาประมาณ 25 % หรือมากว่านั้นไปการเรียง ดังนั้นการเรียนรู้เทคนิคด้านนี้จึงสำคัญกับนักคอมพิวเตอร์มาก เพื่อ สามารถเลือกวิธีเรียงลำดับได้เหมาะสม และ เป็นแนวทางในการพัฒนาคิดค้นวิธีใหม่ๆ

ประโยชน์ของการเยงลำดับ ช่วยในการจัดหมวดหมู่ของข้อมูล (Classify) ช่วยในการค้นหาข้อมูล (Searching) ช่วยในการปรับปรุงแฟ้มลำดับมีประสิทธิภาพมากขึ้น (Matching)

ประเภทของการจัดเรียง แบ่งเป็น 2 ประเภท การเรียงลำดับภายในหน่วยความจำ (Internal Sorting)เหมาะกับตารางขนาดเล็ก ความจุจะต้องไม่เกิดหน่วยความจำ การเรียงลำดับภายนอกหน่วยความจำ (External Sorting) เนื่องจากแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่จึงไม่สามารถนำมาเรียงได้หมดในคราวเดียวต้องนำมาแบ่งเป็นส่วนๆแล้วเรียงและบันทึกลงไว้ในอุปกรณ์บันทึกข้องภายนอกเล่นเทปแม่เหล็ก จากนั้นก็นำทุกๆส่วนมารวมกันเรียงเป็นแฟ้มข้อมูล

การเรียงข้อมูลในหน่วยความจำ การเรียงตามแทรก (Insertion Sorting) การเรียงแบบแลกเปลี่ยน(Exchange Sorting) การเรียงแบบเลือก (Selection Sorting) การเรียงแบบอื่น

การเรียงตามแทรก (Insertion Sorting) แนวคิดคือการนำระเบียนใหม่ครั้งละ 1 ระเบียนแทรกเข้าไปในกลุ่มระเบียน ในตำแหน่งที่ทั้งกลุ่มยังคงเรียงลำดับอยู่ 1. การแทรกโดยตรง (Straight Insertion) 2. การแทรกแบบไบนารี (Binary Insertion) 3. การแทรกแบบ 2 ทาง(Two-way Insertion) 4. การเรียงแบบเลล์ (Shell Sort) 5. การแทรกแบบลิสท์(List Insertion)

การแทรกแบบโดยตรง 503 : 087 087 503 : 512 087 503 512 : 061 061 087 503 512 : 908

การแทรกแบบไบนารี(Binary Insertion) เพื่อลดจำนวนครั้งในการค้นหาในแบบแรก เป็นการค้นหาในกลุ่มระเบียนที่เรียงลำดับ

การแทรกแบบ 2 ทาง เพื่อลดจำนวนครั้งในการเคลื่อนย้ายข้อมูลในแบบไบนารีโดยให้คีย์ตัวแรกอยู่ตำแหน่งกึ่งกลางของเนื้อที่ output จะแทรกระเบียนใหม่ทางด้านซ้าย ถ้าคีย์ใหม่มีค่าน้อยกว่าตัวแรก มิฉนั้นจะแทรกด้านขวา 503 087 503 061 087 503 512 061 087 503 512 503 908