วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ บริษัท ทีซิส คอนเซาท์ จำกัด โทร Public Sector Management Quality Award สมชาติ ก้องนภา สันติกุล.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หมวด2 9 คำถาม.
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้ พบหมอองค์กรครั้งที่ 1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การประเมินตนเองโดยใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาองค์กร กำหนดการส่งร่างแผนพัฒนาองค์กรให้หมอองค์กร

หน่วยงาน หมอประจำ 1. จังหวัด................ 2. จังหวัด................ 3. จังหวัด................ 4. จังหวัด................ 5. จังหวัด................ 6. จังหวัด................ 7. จังหวัด................ 8. จังหวัด................ 9. จังหวัด................

กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2552 น้ำหนักร้อยละ 20 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”

เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “ รางวัลการพัฒนา องค์การดีเด่น” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 “รางวัลมุ่งมั้นพัฒนาองค์การดีเด่น หมวด ........” Successful Level 10 ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7

Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2553 2554 1 2 5 จังหวัด 4 3 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 7

การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 20 8

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 2 แผน ซึ่งแต่ละแผนแบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 12.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 12 9

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 12.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 1 และหมวด 4 ข้อที่ผ่านได้ 5 คะแนน ข้อที่ไม่ผ่านได้ 1 คะแนนยกเว้น เรื่อง GPP ให้เป็นไปตามแนวทางของ สศช. และกรมบัญชีกลาง ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณา โดยนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละข้อมาคูณกับน้ำหนักความสำคัญของข้อนั้นๆ จะได้ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก แล้วรวมค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักที่ได้ของทุกหัวข้อในแต่ละแผนฯ อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2 10

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 4 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4 11

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 4) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3 12

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* (2 แผน) - 13

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5 14

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6 15

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (2 แผน) - 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7 16

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การรายงานสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีแนวทางดังนี้ 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รายงานค่าคะแนนของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย รายงานค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย โดยการนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยไปคูณกับน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยที่กำหนดไว้ รายงานค่าคะแนนสุดท้ายของตัวชี้วัดที่ 12 โดยการรวมค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 17

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 18

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 6. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก 19

ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 5 PMQA Site-Visit 6 รายงานผลการดำเนินการ ตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก ประเมินองค์กรเทียบกับ เกณฑ์ในระดับพื้นฐาน วิเคราะห์ OFI และแผนปรับปรุง ปี 51 1 4 ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐานเพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปี 53 แผนหมวด 1และ แผนหมวด 4 3 ดำเนินการ ปรับปรุง 2 จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของ กระบวนการและผลลัพธ์ จัดทำแผนพัฒนาองค์การ 2 แผน

Template 01: การประเมินตนเองตามเกณฑ์ FL ปฏิบัติการ 1 Template 01: การประเมินตนเองตามเกณฑ์ FL

แนวทาง/ขั้นตอนการดำเนินการ และการใช้แบบฟอร์ม ขั้นตอนที่ 1. ส่วนราชการคัดเลือกหมวดที่ต้องการวิเคราะห์การ ดำเนินงานขององค์กรเทียบกับเกณฑ์ FL ขั้นตอนที่ 2 เปิด Sheet ตามหมวดที่ได้เลือกไว้ ขั้นตอนที่ 3 ส่วนราชการวิเคราะห์การดำเนินงานขององค์กรตามประเด็นที่กำหนดไว้ใน Column "ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน"

ขั้นตอนที่ 4 หากส่วนราชการได้มีการดำเนินการตามประเด็นที่กำหนดไว้อย่างครบถ้วน ให้ใส่ข้อความ "Y" ลงใน Column "ดำเนินการครบถ้วน (Y/N)" กรณีที่ ส่วนราชการไม่ได้ดำเนินการตามประเด็นที่ระบุไว้อย่างครบถ้วน ให้ใส่ข้อความ "N" ลงใน Column "ดำเนินการครบถ้วน (Y/N)"

ขั้นตอนที่ 5 เมื่อดำเนินการวิเคราะห์ตามประเด็นพิจารณาอย่างครบถ้วนเรียบร้อย   ให้กดที่ปุ่มลูกศรในช่อง "ดำเนินการครบถ้วน (Y/N)" เพื่อเปิดเมนู Filter   เลือกทำเครื่องหมาย ถูก เฉพาะตัว "N" เท่านั้น แล้วกด OK

Template 01 ช่วยให้ส่วนราชการจัดทำแผนปรับปรุงองค์กรเพื่อให้ครอบคลุมสิ่งที่หน่วยงานยังไม่ดำเนินงาน (แบบฟอร์มที่ 1)

จากผลของการวิเคราะห์ตาม Template 01 ปฏิบัติการ 2 จากผลของการวิเคราะห์ตาม Template 01 ให้จังหวัดจัดทำแผนปรับปรุงองค์กรเพื่อให้ครอบคลุมสิ่งที่ส่วนราชการยังไม่ดำเนินงานโดยใช้ แบบฟอร์มที่ 1

หน่วยงาน หมวดที่เลือก 1. จังหวัด................ 1+4 2. จังหวัด................ 3. จังหวัด................ 4. จังหวัด................ 5. จังหวัด................ 6. จังหวัด................ 7. จังหวัด................ 8. จังหวัด................ 9. จังหวัด................

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 1. จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เป็นรายหมวด จำนวน 2 แผน 2. กรอบในการจัดทำแผน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2552 2553 2554 จังหวัด เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 4 2 3 5 6 แผนปรับปรุงที่ได้จัดทำไว้จำนวน 2 แผนในปีงบประมาณ 2551 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 30

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 สำนักงาน ก.พ.ร. จะแต่งตั้งคณะทำงานซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาองค์การ เพื่อทำหน้าที่กลั่นกรองแผนพัฒนาองค์การที่จังหวัดส่งเข้ามา และจะแจ้งผลให้ทราบภายในกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2552 แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ กำหนดการส่ง (ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ภายใน 30 มกราคม พ.ศ. 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้ 0.5000 คะแนน 31

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 32

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างการจัดทำแบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 33

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างการจัดทำแบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต่อ) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 34

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างการจัดทำแบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต่อ) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 35

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กำหนดรายละเอียดตัวชี้วัดเพื่อการประเมินผล แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดทำ ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ กำหนดการส่ง (ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ กำหนดน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัดเท่ากัน นำค่าเป้าหมายไว้ที่ค่าคะแนนระดับ 5 กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละตัวชี้วัดตามความเหมาะสม แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ภายใน 30 มกราคม พ.ศ. 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้ 0.5000 คะแนน 36

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ 37

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างการจัดทำแบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ 38

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จังหวัดดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การที่กำหนด เพื่อให้แผนดังกล่าวบรรลุเป้าหมายที่กำหนดทั้งในแง่ความครบถ้วนของกระบวนการและความสำเร็จของผลลัพธ์ สำนักงาน ก.พ.ร. มีระบบสนับสนุน ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 คู่มือเทคนิคการปรับปรุงและพัฒนาองค์การ เวอร์ชั่น 1.0 ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1-7 คลีนิคให้คำปรึกษาเชิงลึกจังหวัด โดยที่ปรึกษาในการพัฒนาองค์การที่เชี่ยวชาญในแต่ละหมวดจะไปให้คำปรึกษา ณ จังหวัด จำนวน 3 ครั้ง คลีนิคให้คำปรึกษาทุกบ่ายวันศุกร์ ที่ สำนักงาน ก.พ.ร. โดยทีมเจ้าหน้าที่สำนักงาน ก.พ.ร. ที่รับผิดชอบโครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA e-Learning เว็บไซต์ www.opdc.go.th 39

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขั้นตอนนี้จะดำเนินการประมาณเดือน กันยายน ถึง ตุลาคม 2552 ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) 3. การจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 40

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร (นำลักษณะสำคัญขององค์กรที่ได้จัดทำตามตัวชี้วัดฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 มาทบทวนให้สอดคล้องกับสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป) 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับที่ส่วนราชการต้องตอบคำถาม โดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ จึงจะถือว่าได้ตอบคำถามในข้อนั้น ๆ แล้ว คำถามที่ ไม่มี เครื่องหมาย (#) เป็นคำถามที่ส่วนราชการต้องตอบคำถาม แต่การตอบคำถามดังกล่าวอาจจะยังไม่มีความสมบูรณ์ก็ได้ ส่วนราชการอธิบายบริบทที่สำคัญขององค์การที่เกี่ยวข้องในแต่ละคำถาม โดยใช้วิธีการพรรณาความ ใช้แผนภาพประกอบ หรือใช้ตาราง ตามความเหมาะสมในแต่ละคำถาม โดยมีจำนวนหน้าไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ A4 แบบฟอร์มที่ 5 : แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร 41

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 5 : แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 42

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 3 และ 6 :แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 43

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตรวจสอบว่าผ่าน FL หมวด 1 , 4 , 7 หากยังผ่านไม่ครบให้จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ 2553 เพิ่มเติม 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เตรียมจัดทำแผนพัฒนาองค์การสำหรับปีงบประมาณ 2553 44

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 3. การจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด แนวทางเช่นเดียวกับการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้จังหวัดประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวด 2 และหมวด 3 เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การในหมวดดังกล่าว กรณีจังหวัดที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 จะต้องจัดทำแผนฯเพิ่มเติมมาด้วย แบบฟอร์มที่ 7.1 : แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 7.2 : แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 45

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 7.1 : แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 46

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 7.2 : แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 47

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 รายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดในรายงานรอบ 6 เดือน และ รอบ 12 เดือน ของแต่ละแผน ประกอบด้วย 2 หัวข้อ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. รายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ หมายเหตุ : การรายงานรอบ 6 เดือนเป็นการรายงานปกติตามแบบฟอร์มคำรับรองการปฏิบัติราชการ ไม่ต้องใช้แบบฟอร์มที่ 3 และ 4 โดยเป็นการรายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมของตัวชี้วัดนี้เท่านั้น ส่วนการรายงานรอบ 12 เดือน จังหวัดจึงใช้แบบฟอร์มที่ 3 และ 4 48 48

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 1. รายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 49

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 3.1 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการในหมวด 1 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 50

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด แบบฟอร์มที่ 3.2 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการในหมวด 4 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 51

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 3.3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 52

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด ค่าคะแนนของตัวชี้วัด ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 53

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 54

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด การตรวจประเมินตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ รอบ 12 เดือน จะเป็นการตรวจสอบการประเมินความสำเร็จที่จังหวัดได้ประเมินตนเองมาว่าตรงตามคะแนนที่ประเมินหรือไม่ 6. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก 55

แผนงานที่เหลือ

ปฏิทินการดำเนินการ 15 มค. 52 X 30 มค. 52 แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2551 2552 2553 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กำหนดการพบหมอองค์กร จำนวน 3 ครั้ง จ.ว.วิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จ.ว. ส่งร่างแผนให้หมอองค์กร จ.ว.จัดส่งแผนฉบับสมบูรณ์ (ฟอร์ม 1 และ 2) จ.ว.ดำเนินการปรับปรุงตามแผนที่เสนอไว้ รวบรวมข้อมูล และติดตามประเมินผล แก้ไขปัญหาในการดำเนินการตามแนวทางที่หมอองค์กรให้คำแนะนำ จ.ว.สรุปผลการปรับปรุง ประเมินตนเองตามFL จัดทำแผนปี53 ครั้งที่ 1 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงองค์กร ครั้งที่ 3 ติดตามผลการ ปรับปรุงและแนะนำ การตรวจประเมิน 15 มค. 52 X 30 มค. 52

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 20 58

แบบฟอร์มที่ 1 และ 2 ภายในวันที่ 30 มกราคม 2552 การรายงานผลตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด การส่งมอบงาน จังหวัดจัดส่งรายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จำนวน 4 ชุดข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม จำนวน 2 แผ่น จำนวนที่กำหนดนี้ ได้รวมถึงการส่งเอกสารหลักฐานแนบตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือนด้วยแล้ว) ไปยังสำนักบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. แบบฟอร์มที่ 1 และ 2 ภายในวันที่ 30 มกราคม 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้ 0.5000 คะแนน แบบฟอร์มที่ 3 - 8 ภายในวันที่ 30 ตุลาคม 2552 59

แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ การรายงานผลตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ แบบฟอร์มที่ 5 แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร แบบฟอร์มที่ 6 แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 7 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 60