ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบ การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ปีงบประมาณ 2557 7. การประเมินผลสำเร็จของการดำเนินการตามแผน การบริหารความเสี่ยงตามกลยุทธ์ของหน่วยงาน 55 6. การจัดทำและส่งรายงานการควบคุมภายใน 5 5. การติดตามผลแผนบริหารความเสี่ยงตามกลยุทธ์ของหน่วยงาน 10 4. การจัดทำตาราง SR 1 และ SR 2 10 3. การถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้เรื่องการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน 10 2. การจัดตั้งคณะทำงานด้านการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน 5 1. จัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน 5
การคำนวณผลการประเมิน ผลคะแนนรวมจาก 7 ขั้นตอน ระดับคะแนนที่ได้รับ > 95 – 100 คะแนน 5 > 90 – 95 คะแนน 4 > 85 – 90 คะแนน 3 > 80 – 85 คะแนน 2 0 – 80 คะแนน 1
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง 1. ปรับลดขั้นตอนจากเดิม 9 ขั้นตอน เหลือเพียง 7 ขั้นตอน เน้นการวัดผลลัพธ์ของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ได้แก่ 2.1 ผลลัพธ์ของการถ่ายทอดความรู้เรื่องดังกล่าวภายในหน่วยงาน ด้วยการสุ่มสอบถามจากข้าราชการในสังกัด 2.2 หน่วยงานที่ปฏิบัติราชการตามแผนฯ ได้บรรลุผลสำเร็จตาม เป้าหมายของตัวชี้วัดทุกตัว จะได้คะแนนผลสำเร็จถึง 55 คะแนน จาก 100 คะแนน ซึ่งผลสำเร็จเกิดจากการที่หน่วยงานทราบ ความเสี่ยงตั้งแต่ต้นปีงบประมาณและพยายามจัดการกับความเสี่ยง 4
เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณาประเมินผล : เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณาประเมินผล : 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับหน่วยงาน 2. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานด้านการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน 3. ตารางการค้นหา ระบุ และวิเคราะห์ความเสี่ยง (ตาราง SR 1) 4. แผนการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน (ตาราง SR 2) 5. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปย.๑) 6. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย.๒) 7. เอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีการดำเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยง (ตาราง SR 2) 8. ผลการปฏิบัติราชการประจำปีที่ประเมินโดยสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ลดจำนวนเอกสารที่ใช้ในการพิจารณาประเมินผลลง 5