3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยวัด : ระดับ คำอธิบาย.
Advertisements

ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
 6. การจัดการข้อร้องเรียน ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
สารอธิบดี ฉบับที่ 10/2548 สวัสดีครับ อีกไม่กี่วันก็จะเป็นวันสิ้น ปีงบประมาณ และพวกเราที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ที่สำนักงาน สรรพากรพื้นที่สาขาก็อาจมีงานหนักขึ้นกว่าปกติเล็กน้อยจาก.
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ตัวชี้วัดที่ 3.5 ร้อยละของคุณภาพการบริการ ของสำนักงานเขต
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ การสร้างเสริมคุณธรรมและ จริยธรรม

3.3 ร้อยละของผลการปฏิบัติงาน ตามแผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร  แผนกลยุทธ์การสร้างราชการ ใสสะอาดของ กทม. มีตัวชี้วัด ทั้งหมด 30 ตัวชี้วัด ซึ่งแต่ละ หน่วยงานจะปฏิบัติตามตัวชี้วัด จำนวนไม่เท่ากัน จำนวนตัวชี้วัดที่ ดำเนินการ จำนวนตัวชี้วัดที่ รับผิดชอบ X 10 0 = ผลการ ปฏิบัติงาน ตามแผนกล ยุทธ์ ฯ วิธีคำนวณ

4.3 การดำเนินการของเรื่องร้องเรียน เกี่ยวกับการทุจริตประพฤติมิชอบของ หน่วยงาน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความมีประสิทธิภาพ ในการตรวจสอบ / แก้ไข ส่วนที่ 2 การพิจารณาจำนวน เรื่องร้องเรียนฯ

 พิจารณาจากเรื่องร้องเรียนที่ได้ ดำเนินการตามระยะเวลาที่กำหนด ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ ได้รับเรื่องร้องเรียน ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ สอบสวนข้อเท็จจริง / ดำเนินการสืบสวนข้อเท็จจริง ส่วนที่ 1 ความมีประสิทธิภาพใน การตรวจสอบหรือแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต

จำนวนเรื่องร้องเรียนที่ ดำเนินการครบตาม ระยะเวลาที่กำหนด จำนวนเรื่อง ร้องเรียนทั้งหมด X 10 0 = ผลของความ มี ประสิทธิภาพ ฯ

ส่วนที่ 2 การพิจารณาจำนวน เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต ส่วนที่ 2 การพิจารณาจำนวน เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต  พิจารณาจาก “ จำนวน เรื่องร้องเรียน ” เกี่ยวกับการ ทุจริตประพฤติมิชอบของ หน่วยงาน ซึ่งปรากฏตัวผู้ ถูกกล่าวหา หรือมีการ กล่าวหาโดยหน่วยงานของ รัฐ

กำหนดเกณฑ์มาตรฐานของ จำนวนเรื่องร้องเรียน ( จากสถิติ เรื่องร้องเรียนทุจริต ฯ ของ หน่วยงาน 3 ปีย้อนหลัง ) กำหนดเกณฑ์มาตรฐานของ จำนวนเรื่องร้องเรียน ( จากสถิติ เรื่องร้องเรียนทุจริต ฯ ของ หน่วยงาน 3 ปีย้อนหลัง ) คือ 1 เรื่องต่อจำนวนอัตรากำลัง 200 คน ( หน่วยงานที่มีอัตรากำลัง ไม่เกิน 200 คน ให้คิดเป็น 200 คน ) คือ 1 เรื่องต่อจำนวนอัตรากำลัง 200 คน ( หน่วยงานที่มีอัตรากำลัง ไม่เกิน 200 คน ให้คิดเป็น 200 คน )

วิธีการคำนวณ 1. คำนวณหาเรื่องร้องเรียนที่เกินเกณฑ์ มาตรฐานตามข้อ 1 โดยใช้อัตรากำลัง ของหน่วยงานหารด้วย 200 บวกด้วย 1 กำหนดให้เป็น A1. คำนวณหาเรื่องร้องเรียนที่เกินเกณฑ์ มาตรฐานตามข้อ 1 โดยใช้อัตรากำลัง ของหน่วยงานหารด้วย 200 บวกด้วย 1 กำหนดให้เป็น A 2. จำนวนเรื่องร้องเรียน ทั้งหมดของ หน่วยงานในปีงบประมาณนั้น2. จำนวนเรื่องร้องเรียน ทั้งหมดของ หน่วยงานในปีงบประมาณนั้น กำหนดให้เป็น B กำหนดให้เป็น B 3. นำ B-A เพื่อหาส่วนต่างของ B และ ผลต่างที่ได้ กำหนดให้เป็น C3. นำ B-A เพื่อหาส่วนต่างของ B และ ผลต่างที่ได้ กำหนดให้เป็น C ( หากส่วนต่างมีผลเป็นบวก ไม่ต้อง คำนวณต่อในขั้นตอนที่ 4 และ 5( หากส่วนต่างมีผลเป็นบวก ไม่ต้อง คำนวณต่อในขั้นตอนที่ 4 และ 5 และให้ถือว่าหน่วยงานไม่ได้คะแนนใน ส่วนที่ 2 ) และให้ถือว่าหน่วยงานไม่ได้คะแนนใน ส่วนที่ 2 )

วิธีการคำนวณ 4. คำนวณหาค่าคะแนนของเรื่องร้องเรียน 1 เรื่อง โดยนำคะแนนเต็ม (2 คะแนน ) หาร ด้วย A กำหนดให้เป็น D4. คำนวณหาค่าคะแนนของเรื่องร้องเรียน 1 เรื่อง โดยนำคะแนนเต็ม (2 คะแนน ) หาร ด้วย A กำหนดให้เป็น D 5. คำนวณหาผลคะแนนที่หน่วยงานจะได้ คือ C X D5. คำนวณหาผลคะแนนที่หน่วยงานจะได้ คือ C X D ( ก่อนนำมาคูณ ให้เปลี่ยนค่า C เป็นบวก ก่อน ) ( ก่อนนำมาคูณ ให้เปลี่ยนค่า C เป็นบวก ก่อน )

ตัวอย่างที่ 1 หน่วยงาน ก. มีอัตรากำลัง 575 คน หน่วยงาน ก. มีอัตรากำลัง 575 คน และมีเรื่องร้องเรียนทุจริตในรอบปี จำนวน 5 เรื่อง และมีเรื่องร้องเรียนทุจริตในรอบปี จำนวน 5 เรื่อง ขั้นตอนที่ 1 นำ 575 หารด้วย 200 บวกด้วย 1 เท่ากับ 3.87 กำหนดเป็น A ขั้นตอนที่ 1 นำ 575 หารด้วย 200 บวกด้วย 1 เท่ากับ 3.87 กำหนดเป็น A ขั้นตอนที่ 2 จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด 5 เรื่อง กำหนดเป็น B ขั้นตอนที่ 2 จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด 5 เรื่อง กำหนดเป็น B ขั้นตอนที่ 3 นำค่า A ลบกับ ค่า B คือ 5 – 3.87 = 1.13 ขั้นตอนที่ 3 นำค่า A ลบกับ ค่า B คือ 5 – 3.87 = 1.13 หากส่วนต่างของค่า B-A ในขั้นตอนที่ 3 มีผล เป็นบวก ไม่ต้องคำนวณต่อ หากส่วนต่างของค่า B-A ในขั้นตอนที่ 3 มีผล เป็นบวก ไม่ต้องคำนวณต่อ ในขั้นตอนที่ 4 และ 5 และให้ถือว่า หน่วยงาน ก. ไม่มีคะแนนในส่วนที่ 2 ในขั้นตอนที่ 4 และ 5 และให้ถือว่า หน่วยงาน ก. ไม่มีคะแนนในส่วนที่ 2

ตัวอย่างที่ 2 หน่วยงาน ข. มีอัตรากำลัง 2,583 คน มีเรื่อง ร้องเรียนฯ ในรอบปี จำนวน 5 เรื่อง หน่วยงาน ข. มีอัตรากำลัง 2,583 คน มีเรื่อง ร้องเรียนฯ ในรอบปี จำนวน 5 เรื่อง ขั้นตอนที่ 1 นำ 2,583 หารด้วย 200 บวกด้วย 1 เท่ากับ กำหนดเป็น A ขั้นตอนที่ 1 นำ 2,583 หารด้วย 200 บวกด้วย 1 เท่ากับ กำหนดเป็น A ขั้นตอนที่ 2 จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด 5 เรื่อง กำหนดเป็น B ขั้นตอนที่ 2 จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด 5 เรื่อง กำหนดเป็น B ขั้นตอนที่ 3 นำค่า A ลบกับ ค่า B คือ 5 – = กำหนดเป็น C ขั้นตอนที่ 3 นำค่า A ลบกับ ค่า B คือ 5 – = กำหนดเป็น C ขั้นตอนที่ 4 นำค่าคะแนนเต็มเท่ากับ 2 คะแนน หารด้วยค่า A = 0.14 ขั้นตอนที่ 4 นำค่าคะแนนเต็มเท่ากับ 2 คะแนน หารด้วยค่า A = 0.14 กำหนดเป็น D กำหนดเป็น D ขั้นตอนที่ 5 คำนวณหาผลคะแนนที่ หน่วยงานจะได้รับ คือ ขั้นตอนที่ 5 คำนวณหาผลคะแนนที่ หน่วยงานจะได้รับ คือ นำค่า C X ค่า D = 8.91 X 0.14 = 1.24 นำค่า C X ค่า D = 8.91 X 0.14 = 1.24 ดังนั้น หน่วยงาน ข. ได้คะแนน ในส่วนที่ 2 เท่ากับ 1.24 ดังนั้น หน่วยงาน ข. ได้คะแนน ในส่วนที่ 2 เท่ากับ 1.24

องค์ประกอบการจัดกิจกรรม 3 ประการ องค์ประกอบการจัดกิจกรรม 3 ประการ 1. จัดกิจกรรมไปรับฟังธรรม สถาน ปฏิบัติธรรม ที่วัด หรือสถานปฏิบัติ ธรรม หรือสถานที่อื่นที่เหมาะสม1. จัดกิจกรรมไปรับฟังธรรม สถาน ปฏิบัติธรรม ที่วัด หรือสถานปฏิบัติ ธรรม หรือสถานที่อื่นที่เหมาะสม 2. จัดกิจกรรมในช่วงปีงบประมาณ พ. ศ.2555 รวม 9 ครั้ง2. จัดกิจกรรมในช่วงปีงบประมาณ พ. ศ.2555 รวม 9 ครั้ง 3. เป็นกิจกรรมที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็น บุคลากรในสังกัด3. เป็นกิจกรรมที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็น บุคลากรในสังกัด โดยบุคลากรทุกคนของหน่วยงานต้อง เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่า 4 ครั้ง โดยบุคลากรทุกคนของหน่วยงานต้อง เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่า 4 ครั้ง ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการสร้างเสริมคุณธรรม และจริยธรรม ฯ

4.3.3 ระดับความสำเร็จของ การดำเนินการ สร้างเสริม คุณธรรมและจริยธรรม ฯ ระดับความสำเร็จของ การดำเนินการ สร้างเสริม คุณธรรมและจริยธรรม ฯ เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 จำนวนการจัด กิจกรรมของหน่วยงาน ส่วนที่ 2 จำนวนครั้งที่บุคลากร เข้าร่วมกิจกรรม