รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข Food Safety นายแพทย์สมชัย นิจพานิช รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
1 2 3 4 5 6 รวมพลังอาหารปลอดภัยเทิดไท้มหาราชินี มาตรการแผนงาน แนวทาง 1 ระบบ แผนบูรณา การ 2 ระบบ ตรวจสอบ เฝ้าระวังป้องกัน ความปลอดภัย 3 ระบบ ควบคุมมาตรฐานของสถานที่และแหล่งผลิต 4 ระบบ ข้อมูล สื่อสาร 5 ระบบ จัดการอุบัติ การณ์ 6 ระบบ รางวัล มาตรการแผนงาน แนวทาง THAILAND เกษตร,ท้องถิ่น, ชุมชน แหล่งผลิต, ฟาร์ม ต้นน้ำ 1 2 3 4 5 6 อย., สสจ. สถานที่แปรรูป, โรงงานอุตสาหกรรม กลางน้ำ ยุทธศาสตร์ อาหารปลอดภัย กรมอนามัย,กรมวิทย์,กรมคร.,ท้องถิ่น, รพ. 1.บูรณาการ 2.เชื่อมโยง 3.เครือข่าย 4.ถ่ายทอดข้อมูล ปลายน้ำ แหล่งจำหน่าย, บริการอาหาร ครัว-อาหาร ปลอดภัย เพื่อคนไทย และสังคมโลก ผู้นำ อาเซียน ประชาชนสุขภาพชีวิตดี ชีวีปลอดภัย เศรษฐกิจไทยรุ่งเรือง
1 2 3 4 5 6 รวมพลังอาหารปลอดภัยเทิดไท้มหาราชินี เปิดโครงการ ดำเนินการ 12สิงหาคม2555 1 ระบบ แผนบูรณา การ 2 ระบบ ตรวจสอบ เฝ้าระวังป้องกัน ความปลอดภัย 3 ระบบ ควบคุมมาตรฐานของสถานที่และแหล่งผลิต 4 ระบบ ข้อมูล สื่อสาร 5 ระบบ จัดการอุบัติ การณ์ 6 ระบบ รางวัล มาตรการแผนงาน แนวทาง THAILAND เกษตร,ท้องถิ่น, ชุมชน แหล่งผลิต, ฟาร์ม ต้นน้ำ 1 2 3 4 5 6 อย., สสจ. สถานที่แปรรูป, โรงงานอุตสาหกรรม กลางน้ำ ยุทธศาสตร์ อาหารปลอดภัย กรมอนามัย,กรมวิทย์,กรมคร.,ท้องถิ่น, รพ. 1.บูรณาการ 2.เชื่อมโยง 3.เครือข่าย 4.ถ่ายทอดข้อมูล ปลายน้ำ แหล่งจำหน่าย, บริการอาหาร ครัว-อาหาร ปลอดภัย เพื่อคนไทย และสังคมโลก ผู้นำ อาเซียน ประชาชนสุขภาพชีวิตดี ชีวีปลอดภัย เศรษฐกิจไทยรุ่งเรือง
5 ระบบ เน้นเป็นพิเศษ ระบบแผนบูรณาการ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ระบบแผนบูรณาการ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ (2) ระบบตรวจสอบ เฝ้าระวัง ป้องกันด้านความปลอดภัย (3) ระบบควบคุม ส่งเสริมมาตรฐานสถานที่ผลิต/แหล่งกระจาย อาหาร และหน่วยบริการอาหารของโรงพยาบาล (4) ระบบข้อมูล และการสื่อสาร รวมทั้ง education (5) ระบบการจัดการอุบัติการณ์ (incident management)
7 แหล่งอาหารเน้นเป็นพิเศษ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ ทุกจังหวัดดำเนินการส่งเสริม และตรวจสอบ แหล่งผลิต/ สถานที่ผลิต หน่วยบริการอาหาร และแหล่งกระจายอาหาร เพื่อรับรองมาตรฐานต้อง ผ่านเกณฑ์ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 ได้แก่ 1) โรงงานผลิต/แปรรูปอาหาร 2) ตลาดค้าส่ง 3) ตลาดสด 4) ตลาดนัด 5) ร้านอาหารแผงลอย 6) โรงพยาบาล (หน่วยบริการอาหาร) 7) ศูนย์เด็กเล็ก/โรงเรียน/สถานศึกษา (โรงอาหาร) ก.พ. –ก.ค. 2555 ส่งรายงาน 3 ช่วง -รอบ 6 เดือน -รอบ 9 เดือน -รอบ 12 เดือน -คณะกรรมการอาหารปลอดภัยจังหวัด -สสจ. / รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. -อย. / กรมอนามัย / อปท. ผู้รวบรวม สรุปรายงาน -ศปอ. แบบฟอร์ม+ช่องทางการสื่อสาร www.foodsafetythailand.net
7 ประเภทอาหารเน้นเป็นพิเศษ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ ขอให้ทุกจังหวัดสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัย และดำเนินมาตรการทางกฎหมาย(ตามความเสี่ยงของพื้นที่) ได้แก่ 1) น้ำมันทอดซ้ำ และน้ำมันไม่มีฉลาก อย.ที่จำหน่ายในตลาดสด ตลาดนัด รถเร่โดยเจตนาใช้ปรุงอาหาร 2) สารปนเปื้อน 6 ชนิดในอาหาร 3) น้ำดื่ม 4) น้ำแข็ง 5) นมโรงเรียน 6) เส้นก๋วยเตี๋ยว 7) อื่นๆที่เป็นปัญหาของจังหวัด มี.ค.- ส.ค. 2555 ส่งแนวทางกฎหมายภายใน เม.ย. 2555 ส่งรายงาน 3 ช่วง -รอบ 6 เดือน -รอบ 9 เดือน -รอบ 12 เดือน ดำเนินงานโดย สสจ. -ทีมMobile unit -กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สนับสนุนแนวทางดำเนินการทางกฎหมาย (Compliance Policy) โดย อย. ร่วมกับ กรมอนามัย/กรมวิทย์ / ศปอ. (และที่ปรึกษารัฐมนตรี) ผู้รวบรวม สรุปรายงาน -ศปอ. แบบฟอร์ม+ช่องทางการสื่อสาร www.foodsafetythailand.net.