โรคคอตีบ (Diphtheria)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ข้อพึงปฏิบัติเพื่อ ป้องกันตนเอง จากไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 กิน ร้ อ น ช้อน กลา ง ล้าง มื อ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
Crisis Management 3C 1I - Commander - Control Center - Communication
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคคอตีบ(Diphtheria) อ.ด่านซ้าย
เครือข่ายครูและผู้ดูแลเด็ก ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
Q Fever. Holly Deyo, URL:
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคคอตีบ (Diphtheria) สาเหตุ Corynebacterium diphtheriae Toxogenic strain ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น ผิวหนัง เยื่อบุตา ช่องคลอด ภาวะแทรกซ้อนสำคัญ อักเสบบวมทางเดินหายใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบใน 1 สัปดาห์ ปลายประสาทอักเสบสัปดาห์ที่ 2

โรคคอตีบ (Diphtheria) ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น อัตราป่วยตาย 5-10% การวินิจฉัยแยกโรค Streptococus pharyngitis Vincent angina Infectious mononucleosis Oral candidiasis Adenoairuses

โรคคอตีบ (Diphtheria) ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น อัตราป่วยตาย 5-10% ถ้าสงสัยให้รักษาเลยด้วย ยาปฏิชีวนะและ Anti-Toxin

โรคคอตีบ (Diphtheria) การระบาดในรัสเซียปี 1990-1997 มีรายงานผู้ป่วย 150,000 คน เสียชีวิต 5,000 คน การติดต่อ จากคนสู่คนโดยตรง อาจเกิดจากน้ำนมดิบ ระยะติดต่อ 2-4 สัปดาห์ น้อยมากๆอาจพบได้ 6 เดือน การติดเชื้อทำให้เกิดภูมิคุ้มกันแต่อาจไม่มีนานตลอดชีวิต dT ทำให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อการเกิดโรคจาก Toxin

โรคคอตีบ (Diphtheria) การป้องกัน การให้ความรู้ประชาชน การใช้วัคซีนในเด็ก การให้วัคซีนในกลุ่มเสี่ยงเช่น ผู้ติดเชื้อ HIV

โรคคอตีบ (Diphtheria) การควบคุม การแยกกักผู้ป่วยผู้สัมผัสจนผลเพาะเชื้อเป็นลบ 2 ครั้งหรือได้รับยาปฏิชีวนะครบ 14 วัน การกักกัน ผู้ที่ประกอบอาหารที่สัมผัสโรค ผู้ที่สัมผัสเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนจนกว่าจะพิสูจน์ว่าไม่ได้เป็นพาหะ ผู้สัมผัส ได้รับการเพาะเชื้อ ได้รับยาปฏิชีวนะ 7 วัน

โรคคอตีบ (Diphtheria) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 18 ตุลาคม 2547 ออกตามพ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2523 เรื่องชื่อโรคติดต่อและอาการสำคัญ ลำดับที่ 6 โรคคอตีบ (Diphtheria) อาการเป็นไข้ เจ็บในคอ บางครั้งจะมีอาการบวมแดงอักเสบรอบๆ คอ ในลำคออาจจะมีแผ่นเนื้อเยื่อสีเทา ทำให้หายใจลำบาก มีอาการหอบหน้าเขียว หรือมีอาการของกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบถึงแก่กรรมอย่างกะทันหันได้ กำหนดโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ 18 โรค มีโรคคอตีบอยู่ลำดับที่ 6

แนวคิดการจัดการโรคคอตีบ 2 2 3 1 3 4 4

1.การติดเชื้อ Corynebacterium diphtheriae การป้องกันพื้นฐาน :ดูแลสุขภาพ :ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วย :ล้างมือบ่อยๆ :ไอจามปิดปากปิดจมูก :ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ในชุมชน การให้ยาปฏิชีวนะในผู้สัมผัส การสื่อสารความเสี่ยง

2.อาการ(โรค) การติดเชื้อ Corynebacterium diphtheriae ที่ไม่มีToxin ให้ยาปฏิชีวนะErythromycin หรือ Roxithromycin B ติดตามอาการจนครบ14วัน และพิจารณาให้วัคซีนdTตามเกณฑ์

3โรคจาก การติดเชื้อ Corynebacterium diphtheriae ที่มีToxin โรคคอตีบ หัวใจอักเสบ A ให้ยาปฏิชีวนะErythromycin หรือ Roxithromycin และให้ Diphtheria Anti-Toxin(DAT) B ติดตามอาการจนครบ14วัน และพิจารณาให้วัคซีนdTตามเกณฑ์

4โรคจาก การติดเชื้อ Corynebacterium diphtheriae ที่มีToxin กรณีที่ได้รับวัคซีน dTครบ อาการมักไม่รุนแรง B A A ให้ยาปฏิชีวนะErythromycin หรือ Roxithromycin B ติดตามอาการจนครบ14วัน และพิจารณาให้วัคซีนdTตามเกณฑ์

การดูแลผู้สัมผัสโรคผู้ป่วย ผู้สงสัยในพื้นที่ระบาด เพาะเชื้อ ผู้สัมผัส ติดตามเยี่ยมบ้าน ยาปฏิชีวนะ