โรคคอตีบ (Diphtheria) สาเหตุ Corynebacterium diphtheriae Toxogenic strain ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น ผิวหนัง เยื่อบุตา ช่องคลอด ภาวะแทรกซ้อนสำคัญ อักเสบบวมทางเดินหายใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบใน 1 สัปดาห์ ปลายประสาทอักเสบสัปดาห์ที่ 2
โรคคอตีบ (Diphtheria) ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น อัตราป่วยตาย 5-10% การวินิจฉัยแยกโรค Streptococus pharyngitis Vincent angina Infectious mononucleosis Oral candidiasis Adenoairuses
โรคคอตีบ (Diphtheria) ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น อัตราป่วยตาย 5-10% ถ้าสงสัยให้รักษาเลยด้วย ยาปฏิชีวนะและ Anti-Toxin
โรคคอตีบ (Diphtheria) การระบาดในรัสเซียปี 1990-1997 มีรายงานผู้ป่วย 150,000 คน เสียชีวิต 5,000 คน การติดต่อ จากคนสู่คนโดยตรง อาจเกิดจากน้ำนมดิบ ระยะติดต่อ 2-4 สัปดาห์ น้อยมากๆอาจพบได้ 6 เดือน การติดเชื้อทำให้เกิดภูมิคุ้มกันแต่อาจไม่มีนานตลอดชีวิต dT ทำให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อการเกิดโรคจาก Toxin
โรคคอตีบ (Diphtheria) การป้องกัน การให้ความรู้ประชาชน การใช้วัคซีนในเด็ก การให้วัคซีนในกลุ่มเสี่ยงเช่น ผู้ติดเชื้อ HIV
โรคคอตีบ (Diphtheria) การควบคุม การแยกกักผู้ป่วยผู้สัมผัสจนผลเพาะเชื้อเป็นลบ 2 ครั้งหรือได้รับยาปฏิชีวนะครบ 14 วัน การกักกัน ผู้ที่ประกอบอาหารที่สัมผัสโรค ผู้ที่สัมผัสเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนจนกว่าจะพิสูจน์ว่าไม่ได้เป็นพาหะ ผู้สัมผัส ได้รับการเพาะเชื้อ ได้รับยาปฏิชีวนะ 7 วัน
โรคคอตีบ (Diphtheria) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 18 ตุลาคม 2547 ออกตามพ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2523 เรื่องชื่อโรคติดต่อและอาการสำคัญ ลำดับที่ 6 โรคคอตีบ (Diphtheria) อาการเป็นไข้ เจ็บในคอ บางครั้งจะมีอาการบวมแดงอักเสบรอบๆ คอ ในลำคออาจจะมีแผ่นเนื้อเยื่อสีเทา ทำให้หายใจลำบาก มีอาการหอบหน้าเขียว หรือมีอาการของกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบถึงแก่กรรมอย่างกะทันหันได้ กำหนดโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ 18 โรค มีโรคคอตีบอยู่ลำดับที่ 6
แนวคิดการจัดการโรคคอตีบ 2 2 3 1 3 4 4
1.การติดเชื้อ Corynebacterium diphtheriae การป้องกันพื้นฐาน :ดูแลสุขภาพ :ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วย :ล้างมือบ่อยๆ :ไอจามปิดปากปิดจมูก :ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ในชุมชน การให้ยาปฏิชีวนะในผู้สัมผัส การสื่อสารความเสี่ยง
2.อาการ(โรค) การติดเชื้อ Corynebacterium diphtheriae ที่ไม่มีToxin ให้ยาปฏิชีวนะErythromycin หรือ Roxithromycin B ติดตามอาการจนครบ14วัน และพิจารณาให้วัคซีนdTตามเกณฑ์
3โรคจาก การติดเชื้อ Corynebacterium diphtheriae ที่มีToxin โรคคอตีบ หัวใจอักเสบ A ให้ยาปฏิชีวนะErythromycin หรือ Roxithromycin และให้ Diphtheria Anti-Toxin(DAT) B ติดตามอาการจนครบ14วัน และพิจารณาให้วัคซีนdTตามเกณฑ์
4โรคจาก การติดเชื้อ Corynebacterium diphtheriae ที่มีToxin กรณีที่ได้รับวัคซีน dTครบ อาการมักไม่รุนแรง B A A ให้ยาปฏิชีวนะErythromycin หรือ Roxithromycin B ติดตามอาการจนครบ14วัน และพิจารณาให้วัคซีนdTตามเกณฑ์
การดูแลผู้สัมผัสโรคผู้ป่วย ผู้สงสัยในพื้นที่ระบาด เพาะเชื้อ ผู้สัมผัส ติดตามเยี่ยมบ้าน ยาปฏิชีวนะ