แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สุวลีรัตน์ เพชรล้อม กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่ายฯ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๖
1. คัดกรองประชาชน 2. การจัดการโรค 3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. การพัฒนาศักยภาพชุมชน/ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม 5. การสื่อสารความเสี่ยง/ การสื่อสารสาธารณะ (3อ 2ส) 6. การใช้มาตรการทางกฎหมาย นโยบาย และ มาตรการทางสังคม 7. การพัฒนาระบบสนับสนุนการดำเนินงาน (ระบบข้อมูล การบริหารจัดการ)
คัดกรองประชาชน อายุ 35- 59 ปี อายุ 60 ปีขึ้นไป (DM, HT, Stroke, อ้วน, น้ำหนักเกิน) กลุ่มเป้าหมาย อายุ 15-34 ปี อายุ 35- 59 ปี อายุ 60 ปีขึ้นไป
จำแนกกลุ่ม ปกติ เสี่ยง ป่วย มีปัจจัย Pre DM/PreHT มีภาวะแทรกซ้อน
ดื่มแอลกอฮอล์ /ยาสูบ 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง อ้วน/น้ำหนักเกิน ดื่มแอลกอฮอล์ /ยาสูบ กลุ่มเสี่ยงสูง Pre DM/Pre HT กลุ่มป่วย / มีภาวะแทรกซ้อน
ศูนย์ให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยน โปรแกรม ศูนย์ให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ (HCC : Health Care Center) DPAC
3. การจัดการโรค ระดับจังหวัด, อำเภอ System Manager รพศ./รพท./รพช. Case Manager รพ.สต. คู่มือ รพ.สต. (NCD คลินิกคุณภาพ)
ชุมชนสุขภาพดีวิถีไทย 4.การพัฒนาศักยภาพชุมชน/ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม ชุมชนสุขภาพดีวิถีไทย ตำบลจัดการสุขภาพ หมู่บ้าน - จัดการสุขภาพ - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ลดเสี่ยงลดโรค
5. การสื่อสารความเสี่ยง/ การสื่อสารสาธารณะ (3อ 2ส)
เป็นการถ่ายทอดข่าวสารไปสู่สังคม สู่กลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นสาธารณะชน การสื่อสารสาธารณะ (3อ 2ส) การสื่อสารสาธารณะ (public communication) เป็นการถ่ายทอดข่าวสารไปสู่สังคม สู่กลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นสาธารณะชน
6. การใช้มาตรการทางกฎหมาย นโยบาย และมาตรการทางสังคม กฎหมาย เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาสูบ นโยบาย อาหาร 3อ. 2ส. มาตรการทางสังคม ปลูกผัก
7. การพัฒนาระบบสนับสนุนการดำเนินงาน (ระบบข้อมูล การบริหารจัดการ) ข้อมูล สถานการณ์โรค โปรแกรมบันทึกข้อมูล รายงาน วิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน
การวิเคราะห์สถานการณ์ • ความชุก กลุ่มป่วยที่ถูกวินิจฉัย และได้รับการ รักษา • กลุ่มป่วยได้รับการรักษาอย่างมีคุณภาพเท่าใด • กลุ่มประชากรได้รับการคัดกรองครอบคลุม เท่าใด • กลุ่มประชากร ว่ามีพฤติกรรมเสี่ยง หรือ ปัจจัย เสี่ยงอย่างไร
การวิเคราะห์สถานการณ์ • กลุ่มประชากรที่เสี่ยงได้รับการดูแลให้ปรับ พฤติกรรมอย่างไร • กลุ่มประชากรทั่วไป มีกระบวนการให้ความรู้ สร้างความตระหนักต่อการปรับปัจจัยเสี่ยง ต่างๆ อย่างไรบ้าง
กรอบการดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สุวลีรัตน์ เพชรล้อม กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่ายฯ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2สระบุรี 28 มีนาคม 2556
เสี่ยง(ปัจจัย) PreDM/HT กรอบการดำเนินงาน คัดกรอง ดำเนินงาน ประเมินผล แผนการดำเนินงานเชิงรุกในชุมชน/โรงเรียน/โรงงาน - คืนข้อมูลให้ชุมชน - สร้างความร่วมมือกับ ภาคีเครือข่าย - จัดทำแผนงาน สร้างเสริมสุขภาพ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะ - สื่อสารสุขภาพ/เตือนภัย ปกติ ผลการดำเนินงาน เสี่ยง(ปัจจัย) PreDM/HT รายงานตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง ป่วย วางแผนแก้ไขในปีต่อไป ระบาดโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รายบุคคล/กลุ่ม
การคัดกรองDM/HT แบบคัดกรอง แบบคูปอง 7 สี BMI/รอบเอว กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการ สำรวจพฤติกรรม แบ่ง 3 กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มปกติ+เสี่ยงHBSS online คำนวณและสุ่มตัวอย่างให้ อสม.สัมภาษณ์พฤติกรรม (3อ. 2ส.) www.hed.go.th 21/43 แฟ้มข้อมูล ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพและเตือนภัยพฤติกรรมสุขภาพ รายงาน แปลผลพฤติกรรม
แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดำเนินงาน 1. หมู่บ้าน - จัดการสุขภาพ - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ลดเสี่ยงลดโรค 2. ศูนย์การเรียนรู้องค์กร ต้นแบบไร้พุง 3. กิจกรรมพัฒนาทักษะ 4. กิจกรรมพัฒนาปัจจัยแวดล้อม 5. สื่อสารสุขภาพ 6. สื่อสารเตือนภัย 7. คู่มือ รพ.สต. แผนการดำเนินงานเชิงรุกในชุมชน/โรงเรียน/โรงงาน กลุ่มปกติ+เสี่ยง + PreDM/HT 1. DPAC 2. ศูนย์ให้คำปรึกษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (HCC) 3. คู่มือ รพ.สต. แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รายบุคคล/กลุ่ม กลุ่มป่วย
โครงการปีงบประมาณ 2557 1. นิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 2. ประชุมเครือข่ายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบบูรณางาน 3. ขับเคลื่อนเครือข่ายสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการปีงบประมาณ 2557 4. ขยายเครือข่ายศูนย์ให้คำปรึกษา 5. ประเมินคลินิก NCD คุณภาพ และศูนย์ให้คำปรึกษา 6. สำรวจข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
สวัสดี
ผลการดำเนินงาน ประเมิน ความแออัด จำนวนผู้มารับบริการที่หน่วยบริการ กลุ่มเป้าหมายที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ภาวะเสี่ยงทางสุขภาพ BMI รอบเอว สภาวะสุขภาพ ผู้ป่วยรายใหม่ ภาวะแทรกซ้อน ค่าใช้จ่าย ประชากรที่มีอายุขัย 80 ปีขึ้นไป
หน่วยงานที่รับผิดชอบ รายงานตัวชี้วัด กลุ่มวัยทำงาน ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (ไม่น้อยกว่า ๙๐) กรมควบคุมโรค ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ไม่น้อยกว่า ๕๐) สป.(สสว)* กรมแพทย์ กรมควบคุมโรค สบรส ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่า 40) สป.(สสว)* กรมแพทย์กรมควบคุมโรค สบรส. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา /ส่งต่อ (เท่ากับ 100) กรมการแพทย์* สบรส.
ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดัน (เท่ากับ 90) กรมควบคุมโรค ความรอบรู้ด้านสุขภาพ(Healthy Literacy) ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50) กรมสนับสนุนฯ* กรมคร. กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย สป.รพสต
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ หน่วยงานที่รับผิดชอบ รายงานตัวชี้วัด การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอก เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพสต. (มากกว่าร้อยละ 50) สบรส. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ๗๐) กรมคร.* กรมพ. กรมสจ. ศสว.