( วงจรชีวิตและชีวนิสัย ) ชีววิทยาของยุง ( วงจรชีวิตและชีวนิสัย ) นายสุชาติ ผาติพงศ์ B.Sc. (Biology), Kasetsart University M.Sc. (Tropical Medicine), Mahidol University นักวิชาการสาธารณสุข 8ว กลุ่มเทคโนโลยีการควบคุมแมลงนำโรค สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
วงจรชีวิตของยุง อากาศ น้ำ ลูกน้ำ ตัวเต็มวัย (ตัวผู้ , ตัวเมีย) ตัวโม่ง ไข่ ลูกน้ำ ลูกน้ำ (4 ระยะ)
การดำรงชีวิตของยุงหลังจากเกิดมาแล้ว เกาะพักนอกบ้าน กินเลือดสัตว์ กินเลือดคน เกาะพักในบ้าน ยุงตัวเมียผสมพันธุ์ วางไข่
ชีวนิสัยที่สำคัญของยุง คำศัพท์ : Anthropo - คน Zoo - สัตว์ Endo - ในบ้าน Exo - นอกบ้าน Philic - ชอบ Phagic - กัดกิน 1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) ชอบเลือดสัตว์ ( Zoophilic ) 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินในบ้าน ( Endophagic ) หากินนอกบ้าน ( Exophagic ) 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก ชอบเกาะพักในบ้าน ( Endophilic ) ชอบเกาะพักนอกบ้าน ( Exophilic )
MALARIA VECTORS IN THAILAND 72 species of Anopheline mosquitoes were found in Thailand 10 species are involved in the malaria transmission 1. Primary vectors: play major role in transmission of malaria. 1.1 Anopheles dirus 1.2 Anopheles minimus 1.3 Anopheles maculatus 2. Secondary vectors : play a minor role in transmission of malaria. 2.1 Anopheles sundaicus 2.2 Anopheles aconitus 2.3 Anopheles pseudowillmori 3. Suspected vectors :may play a role of transmission in some occasion 3.1 An.campestris 3.3 An.barbirostris, 3.2 An.culicifacies 3.4 An.philippinensis
MALARIA VECTOR BIONOMIC
ยุงพาหะนำโรค ยุงพาหะนำโรคมาลาเรียคือ ยุงก้นปล่องมี 3 ชนิด : An.dirus An.minimus An.maculatus
แหล่งเพาะพันธุ์ของ ยุงพาหะมาลาเรีย ชอบกินเลือดคน
ชีวนิสัยที่สำคัญของยุงAn.minimus 1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) > ชอบเลือดสัตว์ ( Zoophilic ) 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินนอกบ้าน ( Exophagic ) > หากินในบ้าน ( Endophagic ) 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก เกาะพักนอกบ้าน ( Exophilic ) > เกาะพักในบ้าน ( Endophilic )
พ่นสารกำจัดแมลง Deltamethrin ให้มีฤทธิ์ตกค้างอยู่ตามบ้านเรือน วิธีควบคุมยุงก้นปล่องพาหะโรคมาลาเรีย พ่นสารกำจัดแมลง Deltamethrin ให้มีฤทธิ์ตกค้างอยู่ตามบ้านเรือน ชุบมุ้งด้วยสารกำจัดแมลง Permethrin
Seasonal Prevalence of An.minimus
Seasonal Prevalence of An.dirus
Biting patterns of 3 main malaria vectors in Thailand
Area Stratification for Malaria Prevention & Control Endemic area Pop. 2,853,208 (4.6%) 1.Perennial transmission (A1) Population = 496,387 ( 0.7%) 2.Periodic transmission (A2) Population = 2,356,821 (3.9%) Non endemic area Pop.57,993,448 (95.4%) 1.Non transmission but high risk (B1) Population = 6,751,575 (11.2%) 2.Non transmission and low risk (B2) Population = 29,943,028 ( 49.2%) 3.Non transmission and integrated to the general public health system Population = 21,298,845 ( 35 % ) Lao Myanmar Cambodia Malaysia
ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออกคือ ยุงลาย ซึ่งมี 2 ชนิดคือ ยุงลายบ้าน ยุงลายสวน
แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายบ้าน
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายสวน สีวิกา แสงธาราทิพย์ สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก
ชีวนิสัยที่สำคัญของยุงลาย (Ae.aegypti) 1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) สูงมาก 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินในบ้าน ( Endophagic ) สูงมาก 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก ชอบเกาะพักในบ้าน ( Endophilic ) สูงมาก
ควบคุมลูกน้ำ : วิธีทางกายภาพ ใช้สารเคมี(ทรายอะเบท) วิธีการควบคุมยุงลายนำโรคไข้เลือดออก ควบคุมลูกน้ำ : วิธีทางกายภาพ ใช้สารเคมี(ทรายอะเบท) ควบคุมตัวยุง : พ่นฟุ้ง (หมอกควัน หรือ ฝอยละเอียด)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ วันที่ 29 ธ.ค. 45 – 27 ธ.ค. 46 N ภาคเหนือ 89.38 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 89.04 1. ระยอง 251.93 2. พิจิตร 183.12 3. นครปฐม 178.19 4. ประจวบคีรีขันธ์ 170.53 5. อุบลราชธานี 169.01 6. นครสวรรค์ 160.68 7. ศรีสะเกษ 147.84 8. ยะลา 143.80 9. นราธิวาส 141.58 10. สุรินทร์ 140.85 ภาคกลาง 118.51 ภาคใต้ 94.87 แหล่งข้อมูล : รายงานข้อมูล E2 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค จัดทำโดย : กลุ่มโรคไข้เลือดออก สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง จัดทำเมื่อ : วันที่ 29 ธันวาคม 2546
ยุงพาหะนำโรคเท้าช้างคือ ยุงเสือทางภาคใต้ ยุงพาหะนำโรคเท้าช้างคือ ยุงเสือทางภาคใต้ แหล่งเพาะพันธุ์ยุงเสือ
ยุงลายป่า ทางภาคตะวันตก แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายป่า
ชีวนิสัยที่สำคัญของยุง (Mansonia spp.) 1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) = ชอบเลือดสัตว์ ( Zoophilic ) 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินนอกบ้าน ( Exophagic ) 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก ชอบเกาะพักนอกบ้าน ( Exophilic )
วิธีการควบคุม ป้องกันตนเองโดยใช้ยาทากันยุง
แหล่งแพร่โรคเท้าช้างในประเทศไทย แม่ฮ่องสอน ลำพูน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี* ระนอง* นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี กระบี่ นราธิวาส Endemic area Non Endemic area
ยุงพาหะนำโรคไข้สมองอักเสบคือ ยุงรำคาญ ยุงรำคาญในเมืองที่มีเพาะพันธุ์ตามแหล่งน้ำเน่าเสียนั้นไม่เป็นยุงพาหะ ยุงรำคาญทุ่งนาซึ่งมีแหล่งเพาะพันธุ์ในน้ำขังตามทุ่งนาและฟาร์มเลี้ยงสัตว์ แหล่งเพาะพันธุ์ * น้ำขังในนาข้าวหลังฤดูเก็บเกี่ยว * น้ำขังในทุ่งหญ้ารอบๆนาข้าว * น้ำขังบริเวณรอบๆคอกสัตว์ วิธีการควบคุม * พ่นหมอกควัน * กับดักแสงไฟ
ชีวนิสัยที่สำคัญของยุงรำคาญทุ่งนา 1. นิสัยการเลือกชนิดเหยื่อ ชอบเลือดสัตว์ ( Zoophilic ) > ชอบเลือดคน ( Anthropophilic ) 2. นิสัยการเลือกสถานที่หากิน หากินนอกบ้าน ( Exophagic ) > หากินในบ้าน ( Endophagic ) 3. นิสัยการเลือกสถานที่เกาะพัก ชอบเกาะพักนอกบ้าน ( Exophilic ) > ในบ้าน ( Endophilic )
Thank you