การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
Photochemistry.
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
Rigid Body ตอน 2.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
ปรากฏการณ์โพลาไรเซชั่น ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Electromagnetic Wave (EMW)
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
ทัศนศาสตร์ประยุกต์ 1. บทนำ 2. แสงเชิงเรขาคณิต 3. โพลาไรเซชัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน

แหล่งกำเนิดอาพันธ์ คือ แหล่งกำเนิด 2 แหล่งที่ปล่อย คลื่นออกมามีความถี่ ความยาวคลื่น อัตราเร็ว และแอมพลิจูด เท่ากัน และมีเฟสตรงกันและต่างกันคงที่

ถ้าแหล่งกำเนิด S1 และ S2 เป็นแหล่งกำเนิดคลื่น อาพันธ์มีเฟสตรงกัน แนวตรงกลางจะเป็นคลื่นรวมแบบเสริม กัน เรียกว่า แนวปฏิบัพกลาง (A0) ถ้าแหล่งกำเนิด S1 และ S2 เป็นแหล่งกำเนิดคลื่น อาพันธ์มีเฟสตรงกันข้าม แนวตรงกลางจะเป็นแนวคลื่นรวม แบบหักล้างกัน เรียกว่าแนวบัพกลาง (N0)

การแทรกสอดแบบเสริมกัน เป็นการแทรกสอดซึ่งสันคลื่นทั้งสองมารวมกันหรือ ท้องคลื่นมารวมกัน (เฟสตรงกันมาพบกัน) คลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะมีสันสูงกว่าเดิม หรือท้องคลื่นลึกกว่าเดิม เรียกตำแหน่งนั้น ว่า ปฏิบัพ (Antinode , A)

การแทรกสอดแบบหักล้างกัน เป็นการแทรกสอดซึ่งสันคลื่นกับท้องคลื่นมารวมกัน (เฟส ตรงกันข้ามมาพบกัน) คลื่นลัพธ์จะมีสันคลื่นต่ำกว่าเดิม หรือท้อง คลื่นตื้นกว่าเดิม เรียกตำแหน่งนั้นว่า บัพ (Node , N)

เมื่อแหล่งกำเนิดมีเฟสตรงกัน แนวเสริมกัน (Antinode) แนวหักล้างกัน (Node) l S1P - S2P l = n l S1P - S2P l = (n - 𝟏 𝟐 ) d 𝐬𝐢𝐧 𝜽 = n d 𝒔𝒊𝒏 𝜽 = (n - 𝟏 𝟐 ) 𝒅𝒙 𝑫 = n เมื่อ n = 0,1,2,… 𝒅𝒙 𝑫 = (n - 𝟏 𝟐 ) เมื่อ n = 1,2,3,…

การเลี้ยวเบน (Diffraction of Wave) การเลี้ยวเบนเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวาง คลื่น บางส่วนจะสะท้อนกลับ อีกบางส่วนที่สามารถผ่านไปได้จะสามารถ แผ่จากขอบสิ่งกีดขวางเข้าไปที่ด้านหลังของสิ่งกีดขวาง คล้ายกับคลื่น เคลื่อนที่อ้อมผ่านสิ่งกีดขวางนั้นได้ เราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า การ เลี้ยวเบน (คลื่นยังคงมีความยาวคลื่น ความถี่ และอัตราเร็วของคลื่น เท่าเดิม)

หลักการเลี้ยวเบน 1. ในการเลี้ยวเบนของคลื่น ความยาวคลื่น ความถี่ และอัตราเร็วยังคง เท่าเดิม 2. ถ้าเพิ่มความยาวคลื่นของคลื่นตกกระทบ จะเกิดการเลี้ยวเบนมาก ขึ้น 3. การเคลื่อนที่ของคลื่นผ่านช่องเปิด จะเกิดการเลี้ยวเบนมากยิ่งขึ้น ถ้าขนาดช่องเปิด (d) น้อยกว่าความยาวคลื่น ()

การอธิบายการเลี้ยวเบนโดยใช้ หลักการของฮอยเกนส์ ซึ่งกล่าวว่าแต่ละจุดบนหน้าคลื่นถือว่าเป็นแหล่งกำเนิดของ คลื่นใหม่ซึ่งทำให้เกิดคลื่น ซึ่งเคลื่อนที่ไปในทุกทิศทุกทางด้วย อัตราเร็วเท่ากับอัตราเร็วคลื่นเดิม