ยาอะไรเอ่ย?.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

ปรับปรุงครั้งล่าสุด 26/04/53 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
The Cochrane Library โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
Quality Development with Outcome Research
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การสร้างคำถาม.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
QA patient safety ภาควิชาจักษุวิทยา.
การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล
รูปแบบการวิจัย Research Design
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
Management Information Systems
การประเมินผลโครงการ และตัวชี้วัดเพื่อการประเมิน
(Sensitivity Analysis)
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การออกแบบการวิจัย.
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
การวิเคราะห์ข้อมูล.
ชื่อโครงการ.
การเขียนรายงานการวิจัย
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การเขียน Abstract บทคัดย่อ (เรื่องย่อ)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การพัฒนาระบบการนิเทศการสอน ปีการศึกษา ผู้วิจัย : อนันต์ แก้ว ยานะ ปีการศึกษา : ผลการ วิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการ นิเทศส่วนใหญ่แล้วจะเลือกใช้
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
การวิจัยนิเทศศาตร์FCA2101
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
การวิจารณ์วรรณกรรมปฐมภูมิ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
บทที่ 2 การวิจัยผู้บริโภค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยาอะไรเอ่ย?

การวิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ จัดทำโดย นสภ. สุกัญญา จินะการ รหัส 48211170 นสภ. ธนาธร จรอำ รหัส 48230011 แหล่งฝึก : โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

วารสาร : ผู้จัดทำ : แหล่งเงินทุน : (2008) 246:1485–1490 Side effects of commonly used glaucoma medications: comparisonoftolerability,chance ofdiscontinuation, and patient satisfaction วารสาร : Graefe’s Archive for Clinical and Experimental Ophthalmology (2008) 246:1485–1490 ผู้จัดทำ : Henny J. M. Beckers, Jan S. A. G. Schouten, Carroll A. B. Webers , Rikkert van der Valk and Fred Hendrikse แหล่งเงินทุน : Dutch Health Care Insurance Council

Background To compare the tolerability of commonly prescribed topical glaucoma medications determining frequency and bother of side effects patient satisfaction with their medication chance of discontinuation of eye drops.

Methods studied in glaucoma patients from 9 hospitals The frequency and severity of side effects patient satisfaction with the medication probability to change medication due to side effects To register side effects in a questionnaire based on “the Comparison of Ophthalmic Medications for Tolerability” (COMTOL)

Results The number of patients responding was 3,333/3841 (87%) Most patients (79%) were satisfied with their eye medication The median score for ocular side effects was 58 on a scale ranging from 0 to 320 The probability that medication would be changed by the ophthalmologist was 9% The most frequently prescribed drugs were Timolol latanoprost dorzolamide/timolol (Cosopt®) latanoprost/timolol (Xalcom®) Onlysmall differences in tolerability were found between these drugs

Conclusions Patients are satisfied with their glaucoma medication and have a low chance of discontinuation of eye drops due to side effects.

การวิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ

คำถามงานวิจัย ผู้ป่วยโรคต้อหินมีความสามารถในการทนต่อการใช้ยาหยอดตาแต่ละชนิดแตกต่างกันหรือไม่ อาการข้างเคียงของยาถูกพบได้บ่อยใน case reports การเปรียบเทียบความสามารถทนต่อยาระหว่างยา 2 ตัว สามารถทำได้โดยวิธี randomized controlled trial ซึ่งมักจะทำเปรียบเทียบระหว่างยาใหม่ๆ กับยาที่ใช้มานานแล้ว ทำในสภาวะแวดล้อมที่เป็นอุดมคติโดยเลือกเฉพาะผู้ป่วยสุขภาพดี และรายงานอาการข้างเคียงที่เป็นมาตรฐาน งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับอาการข้างเคียงของยาโรคต้อหินมีข้อจำกัดเพราะส่วนใหญ่จะใช้วิธีการประเมินแค่วิธีเดียวในการศึกษา

วัตถุประสงค์งานวิจัย เพื่อเปรียบเทียบความทนต่อยาหยอดตารักษาโรคต้อหินโดยขึ้นกับความถี่และการรบกวนของอาการข้างเคียงรวมถึงความพึงพอใจของผู้ใช้และโอกาสในการหยุดยา Populations  ไม่มี Intervention  มี Control  ไม่มี Outcome  มี Time  ไม่มี

รูปแบบงานวิจัย Descriptive Observational study Cross-sectional studies

ส่งแบบสอบถามเกี่ยวกับอาการข้างเคียงของยา และความพึงพอใจ ระเบียบวิธีวิจัย New patient (เริ่มใช้ยาครั้งแรก, เปลี่ยนการใช้ยา, เพิ่มการใช้ยา) เก็บข้อมูล มี.ค. 2001- ม.ค. 2004 3,841 คน From 9 centers เกิดอาการข้างเคียงให้บันทึก ทนไม่ได้แล้วมาพบแพทย์ แพทย์จะเป็นผู้บันทึกแบบสอบถาม ภายใน 14 วัน ส่งแบบสอบถามเกี่ยวกับอาการข้างเคียงของยา และความพึงพอใจ มีคนส่ง 3,333 คน (87%) ถ้าเปลี่ยนยาจะให้ทำแบบสอบถามอีกรอบ แต่ไม่นำมาวิเคราะห์ในการทดลอง

Questionnaire Comparison of Ophthalmic Medications for Tolerability (COMTOL) ออกแบบเพื่อเปรียบเทียบความทนต่อยาหยอดตาจากอาการข้างเคียง ถูกปรับปรุงเพื่อตอบจุดประสงค์การศึกษานี้โดยแบบสอบถามจะสอดคล้องกับ Farmacotherapeutisch Kompas ซึ่งเป็นแนวทางการรักษาด้วยยาโดย the Dutch Health Care Insurance Board เพื่อให้แน่ใจในความเที่ยงตรงของแบบสอบถามจะใช้ผู้เชี่ยวชาญในโรคต้อหิน 2 คน ตรวจสอบ วัดได้แต่ผลข้างเคียงที่เกิดจาก subjective data แต่ไม่สามารถวัดทาง objective data เช่นผลข้างเคียงทาง systemic

Questionnaire The ocular symptoms listed were burning, stinging,conjunctival hyperaemia, itching, ocular secretion, ocular pain, tearing, brow ache, dryness, foreign body sensation,eyelid redness, eyelid oedema, blurred vision, visual acuity loss, accommodation difficulties, and night vision problems

Side effect frequency of effects 6-point ‘Did not experience’, ‘One day’, ‘Several days’, ‘About half of days’, ‘Almost every day’ and ‘Everyday’ the intensity of bother 5-point ‘Not at all bothered’, ‘A little bothered’, ‘Quite bothered’, ‘Much bothered’ and ‘Extremely bothered’. level of satisfaction 7-point ‘Very unsatisfied‘, ‘Unsatisfied’, ‘A little unsatisfied, ‘Not unsatisfied nor satisfied’, ‘A little satisfied’, ‘Satisfied’ and ‘Very satisfied’.

วิธีคำนวณ Questionnaire อธิบายวิธีคำนวณ Ocular symtomp frequency of effects intensity of bother ความพึงพอใจ

3,841 คน From 9 centers -> ไม่ระบุ power Population 3,841 คน From 9 centers -> ไม่ระบุ power อายุเฉลี่ย 69±12 ปี มีอายุตั้งแต่ 21-97 ปี ผู้ป่วย 1,920 (50%) คนเป็นผู้ชาย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ (85%) จะได้รับการวินิจฉัย open-angle glaucoma 69% ocular hypertension 9% glaucoma suspect 7%

Intervention ไม่ทราบรายละเอียดขนาดยาที่ผู้ป่วยได้รับ ไม่มีการปกปิดยาที่ผู้ป่วยได้รับ Selection bias แพทย์

Outcomes วัดโดยคิดคะแนนจาก Questionnaire อาการข้างเคียงจากการใช้ยา Only subjective data Recall bias ความพึงพอใจ วัดโดยใช้การตัดสินใจของจักษุแพทย์ โอกาสในการหยุดใช้ยา interview bias--สัมภาษณ์โดยแพทย์

ความร่วมมือในการใช้ยา สิ่งแวดล้อม Confounding ยา วิธีการใช้ยา ความร่วมมือในการใช้ยา สิ่งแวดล้อม

อาการข้างเคียงจากการใช้ยา โอกาสในการหยุดใช้ยา Outcomes สถิติ pearson chi square ตัวแปรต้น: ยาหยอดตาแต่ละชนิด ตัวแปรตาม: ความพึงพอใจ อาการข้างเคียงจากการใช้ยา โอกาสในการหยุดใช้ยา

biostatistics used in clinical research

ตอบแบบสอบถามภายใน 14 วัน Time ตอบแบบสอบถามภายใน 14 วัน ช่วงเวลาสั้นเกินที่จะดูอาการข้างเคียงระยะยาว เวลาในการตอบแบบสอบถามแต่ละคนไม่เท่ากันขึ้นกับผู้ป่วย washout-period ไม่มีถึงแม้จะมีการเปลี่ยนการใช้ยา

สรุป ความพึงพอใจ ---- ไม่ต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.40) เกิดมากสุด: other combinations of 3 or more (p=0.12) เกิดน้อยสุด: timolol (gellans) โอกาสในการหยุดใช้ยา---- ไม่ต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาที่มีการใช้มากในการศึกษานี้ได้แก่ Timolol latanoprost dorzolamide/timolol (Cosopt®) latanoprost/timolol (Xalcom®) Patients are satisfied with their glaucoma medication and have a low chance of discontinuation of eye drops due to side effects.

ประเมินการนำไปใช้ glaucoma Refill clinic ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการใช้ยาและมีแนวโน้มหยุดใช้ยาต่ำ แต่ยังมีความแตกต่างในด้านอาการข้างเคียงของยาแต่ละตัว ดังนั้นในการติดตามผู้ป่วยควรประเมินอาการข้างเคียงของยาเพื่อ สามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำวิจัยในกลุ่มคนไข้ของโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

Thank you