ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

จิบน้ำชา สายสนับสนุน 22 มีนาคม 2554.
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
มาตรการพัฒนาและบริหารกำลังคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการจ่ายเงินให้กับ ผู้มีสิทธิรับเงินตามโครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
นางสาวพิมลพัชร์ อารมณ์รัตน์ รหัส
พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
มติ ครม. เมื่อ 13 พฤษภาคม 2551 ปรับเงินค่าครองชีพ
เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
3.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน เกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.) ก.พ.ร. กำหนดให้ ทุกส่วนราชการต้องจัดทำรายงานพร้อมเอกสาร หลักฐานประกอบ ส่ง ภายในวันที่ 31 ตุลาคม.
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ลักษณะสำคัญขององค์กร
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
1. ประกาศรับสมัครคัดเลือกภายในวันจันทร์ที่ 19 ม. ค รับสมัครคัดเลือกวันจันทร์ที่ 26 ม. ค.- วันอาทิตย์ที่ 1 ก. พ.2558 ( ไม่เว้นวันหยุดราชการ.
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดทำคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ กลุ่มนโยบายและ ยุทธศาสตร์
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
1 การพัฒนาระบบการ ปฏิบัติงาน ของสำนักงาน พาณิชย์จังหวัด โดย รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ ( นาง ไพเราะ สุดสว่าง ) วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ แนวความคิด หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดสรรเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2551 โดย ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ภารกิจการติดตาม และประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ สำนักงาน ก.พ.ร. 28 พฤษภาคม 2552

ทฤษฎีความคาดหมาย ความคาดหมาย ความเป็น การประมาณค่า เครื่องมือ ผลลัพธ์ ความพยายาม ของบุคลากร ผลการปฏิบัติงาน ของบุคลากร รางวัล ที่องค์การให้ เป้าหมาย ของบุคลากร การเชื่อมโยง ความพยายามกับผลงาน การเชื่อมโยง ผลงานกับรางวัล ความน่าดึงดูดใจ ของรางวัล

แนวความคิด หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลประจำปี 2551 แนวความคิดเกี่ยวกับการจูงใจบุคลากร การจัดสรรเงินรางวัลประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2551 วัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลให้แก่ ส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา และจังหวัด ผลการคำนวณการจัดสรรเงินรางวัล ประจำปี2551 ข้อเสนอแนะ หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลของ ส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา และจังหวัด ให้แก่ ข้าราชการและลูกจ้างประจำ

Customer Satisfaction วัตถุประสงค์ของการให้เงินรางวัลประจำปี พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ม. 45, 46, 47 Customer Satisfaction ผลผลิต (Output) ปัจจัยนำเข้า (Input) การประเมินผล การจัดทำ ความตกลง การให้รางวัลตอบแทน ม. 48, 49

จำนวนเงินรางวัลที่จะได้รับขึ้นอยู่กับ คะแนนผลการประเมิน (Ri) น้ำหนักการจ่ายเงินรางวัล {B(Ri)} ซึ่งแปลงมาจากคะแนน ผลการประเมิน ขนาดของหน่วยงาน (Pi) คิดจากเงินเดือนและค่าจ้างของ ข้าราชการและลูกจ้างประจำของหน่วยงาน

แนวทางการพิจารณาผลประเมินและการจัดสรรเงินรางวัล แนวทางการพิจารณาผลประเมินการปฏิบัติงานและการจัดสรรเงินรางวัล ส่วนราชการตามที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ส่วนกลาง ส่วนกลางที่ปฏิบัติราชการในภูมิภาค ส่วนภูมิภาค 1. การพิจารณาผลประเมิน: ใช้คะแนนการการประเมินผลจาก ส่วนราชการ ต้นสังกัด กรณีที่ส่วนกลางที่ปฏิบัติราชการในภูมิภาคมีพื้นที่ในความรับผิดชอบเพียงจังหวัดเดียวใช้คะแนนของจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ 50 % อีก 50 % ใช้คะแนนของส่วนราชการต้นสังกัด กรณีที่ส่วนกลางที่ปฏิบัติราชการในภูมิภาคมีพื้นที่ในความรับผิดชอบหลายจังหวัดใช้ค่าคะแนนเฉลี่ยของทุกจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ 50 % อีก 50 % ใช้คะแนนของส่วนราชการต้นสังกัด จังหวัด 2. การจัดสรรเงินรางวัล:ข้าราชการและลูกจ้างประจำจะได้รับเงินรางวัลจาก : ส่วนราชการต้นสังกัด

แนวทางการจัดสรรเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ พ. ศ แนวทางการจัดสรรเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 สำหรับผู้ปฏิบัติของส่วนราชการ จังหวัด และสถาบันอุดมศึกษา ดังภาพ

แนวทางการคำนวณจัดสรรเงินรางวัล ใช้ฐานเงินเดือนและค่าจ้างของข้าราชการและลูกจ้างประจำที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างจากเงินงบประมาณ งบบุคลากร (หมวดเงินเดือนและค่าจ้างเดิม) ของข้าราชการและลูกจ้างประจำทุกตำแหน่ง ณ วันที่ 1 กันยายน 2551 ที่ได้รับจากกรมบัญชีกลาง เป็นปัจจัยระบุขนาดของหน่วยงาน ผู้มีสิทธิได้รับจัดสรรเงินรางวัลประจำปี ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ

หลักเกณฑ์การจัดสรรเงินรางวัลระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล ต้องไม่นำเงินรางวัลทั้งหมดที่ได้รับไปจัดสรรโดยวิธีการหารเฉลี่ยให้ผู้มีสิทธิได้รับเงินรางวัลได้รับเท่ากัน ส่วนราชการฯจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีการการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการฯจัดทำหลักเกณฑ์ วิธีการการจัดสรรเงินรางวัลให้แก่ข้าราชการและลูกจ้างประจำ ทั้งนี้ต้องประกาศหลักเกณฑ์ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำได้ทราบโดยทั่วกันด้วย ผู้มีสิทธิได้รับการพิจารณาจัดสรรเงินรางวัลต้องได้รับการประเมินผลการปฏิบัติราชการ โดยแบ่งการประเมินเป็น 5 ระดับเช่นเดียวกันกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา และจังหวัด โดยที่ระดับที่ 5 คือ มีผลการปฏิบัติราชการดีเยี่ยม และระดับที่ 1 คือ มีผลการปฏิบัติราชการไม่เป็นที่ยอมรับ ผู้ที่มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการต่ำกว่า 3 ไม่มีสิทธิได้รับเงินรางวัล

แนวทางการปฏิบัติที่ดีในการจัดสรรเงินรางวัล การจัดสรรเงินรางวัลคำนึงถึงทั้งความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการทำงานเป็นทีม และความโดดเด่นของผลงาน ซึ่งมีความแตกต่างกันตามรายละเอียดของภาระและลักษณะงานที่ต่างกันในแต่ละที่ การกำหนดหลักเกณฑ์มีความชัดเจน ครอบคลุมการให้รางวัลผลงานทั้งส่วนที่กำหนดเป็นตัวชี้วัดและส่วนที่เป็นภารกิจความรับผิดชอบประจำ การจัดสรรเงินรางวัลในส่วนความโดดเด่นของผลงานสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม

ปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้บางส่วนราชการฯสามารถดำเนินการจัดสรรเงินรางวัลได้อย่างมีประสิทธิผล ความสามารถของผู้บริหารในการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิผล การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ หลักเกณฑ์การจัดสรรเงินรางวัลชัดเจน การจัดสรรเงินรางวัลคำนึงถึงทั้งความร่วมมือ(ทีมงาน)และความโดดเด่นของผลงาน ความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ การสื่อสารทำความเข้าใจกับบุคลากรหลากหลายและทั่วถึง ความเอาใจใส่เห็นอกเห็นใจของผู้บริหารต่อผู้ใต้บังคับบัญชา และความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในหมู่ผู้ปฏิบัติงาน

ขอขอบคุณทุกท่าน