บำเหน็จค้ำประกัน ก.บริหารทรัพยากรบุคคล 7 ก.พ. 2554
บำเหน็จตกทอด คือ เงินที่รัฐจ่ายเพื่อ คือ เงินที่รัฐจ่ายเพื่อ บรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ทายาทของ ข้าราชการหรือผู้รับบำนาญที่ถึงแก่ความตาย จ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว 1
P บำนาญ ไม่เปลี่ยนแปลงด้วย NO!! O.K. บำนาญ ไม่เปลี่ยนแปลงด้วย เงินเดือนเดือนสุดท้าย และ เวลาราชการ ไม่เปลี่ยนแปลง สภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป NO!! O.K. ผู้รับบำนาญ ปรับบำนาญ ข้าราชการ ปรับเงินเดือน ข้าราชการปรับเงินเดือนขึ้นได้ ผู้รับบำนาญปรับบำนาญขึ้นไม่ได้ จึงต้องกำหนดในรูปของ ช.ค.บ. P เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ (ช.ค.บ.) ตาม พรฎ. เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ พ.ศ. 2521
สภาพปัญหา 1. ความยุ่งยากในการเบิกจ่าย 2. บำเหน็จดำรงชีพได้รับน้อยกว่า 1. ความยุ่งยากในการเบิกจ่าย 2. บำเหน็จดำรงชีพได้รับน้อยกว่า ที่ควรจะมีสิทธิได้รับ 3. การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด - ไม่มี - 4. ผลกระทบทางจิตใจของผู้รับบำนาญ 2
การแก้ไขปัญหา 1. ยกเลิก พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ พ.ศ. 2521 2. ปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 - ไม่มี -
การแก้ไขปัญหา บำนาญ (ใหม่) บำนาญ ช.ค.บ. นำ ช.ค.บ. มารวมเป็นบำนาญ และให้ถือเป็นบำนาญ บำนาญ (ใหม่) ได้ดำรงชีพเพิ่มขึ้น, สอดคล้องกับบำเหน็จตกทอด บำนาญ ช.ค.บ. 3
การแก้ไขปัญหา บำนาญ (ใหม่) ตกทอด ปรับปรุงหลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอดให้สอดคล้องกัน ปัจจุบัน : บำนาญ+ช.ค.บ. = บำเหน็จตกทอด อนาคต : ช.ค.บ. ไม่มีแล้ว บำเหน็จตกทอด คำนวณจากบำนาญอย่างเดียว - ไม่มี - บำนาญ (ใหม่) ตกทอด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจ่ายเบี้ยหวัดบำนาญ - ไม่มี - 2. เพิ่มสิทธิประโยชน์ของผู้รับบำนาญเกี่ยวกับบำเหน็จดำรงชีพ 4
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3. หลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด มีความสอดคล้องกัน 4. เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้รับบำนาญโดยตรง ส่งผลดีต่อสภาพจิตใจ - ไม่มี -
บำเหน็จดำรงชีพ บำเหน็จดำรงชีพ เงินที่จ่ายให้แก่ผู้รับบำนาญเพื่อช่วยเหลือการดำรงชีพ โดยจ่ายให้ครั้งเดียว 5
บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท เหลือให้ทายาท เงินเดือน บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) บำเหน็จตกทอด ทำงานอยู่ ชีวิตข้าราชการ เสียชีวิต สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท ออกจากราชการแล้ว บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท บำเหน็จตกทอด บำเหน็จดำรงชีพ เหลือให้ทายาท 15 เท่า ให้นำมาใช้ก่อน 15 เท่า
บำเหน็จดำรงชีพ กฎกระทรวงกำหนดอัตราและวิธีการรับบำเหน็จดำรงชีพ พ.ศ. 2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 ขอรับได้ 15 เท่าของบำนาญรายเดือน แต่ไม่เกิน 2 แสนบาท อายุ 65 ปีบริบูรณ์ ขอรับในส่วนที่เกิน 2 แสนบาทได้อีก แต่ไม่เกิน 4 แสนบาท 6
บำเหน็จค้ำประกัน
ส่วนนี้ น่าจะให้นำมาใช้ได้นะ บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) บำเหน็จตกทอด สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท ให้นำมาใช้ก่อน 15 เท่า เหลือให้ทายาท 15 เท่า บำเหน็จดำรงชีพ ส่วนนี้ น่าจะให้นำมาใช้ได้นะ 7
ถือเป็น หลักทรัพย์ของ ผู้รับบำนาญ แต่ละราย สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท บำเหน็จตกทอดส่วนที่เหลือ 15 เท่า บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) บำเหน็จตกทอด บำเหน็จดำรงชีพ ถือเป็น หลักทรัพย์ของ ผู้รับบำนาญ แต่ละราย หลักทรัพย์ ผู้รับบำนาญ สามารถนำหลักทรัพย์นี้ ไปใช้ ค้ำประกันเงินกู้กับ ธนาคารพาณิชย์ได้ บำเหน็จค้ำประกัน
ส่วนราชการผู้เบิก ลำดับการหักเงินบำนาญ 1. ภาษีอากร 2. สหกรณ์ 3. บำเหน็จค้ำประกัน 4. หนี้อื่นๆ 8
ความคืบหน้า
ยกเลิก ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด ฉบับลงวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2539 เพื่อแก้ปัญหาในการสั่งจ่ายบำเหน็จตกทอด เพิ่มความสะดวกในการยื่นหนังสือแสดงเจตนาฯ เพิ่มความสะดวกในการเปลี่ยนแปลง แก้ไขหนังสือแสดงเจตนาฯ 9
สาระสำคัญในการแก้ไข ประกาศฉบับปัจจุบัน การแสดงเจตนาครั้งแรก ไม่ได้กำหนดให้มีการมอบฉันทะ เมื่อยกเลิกต้องเขียนยกเลิกในฉบับเดิม สามารถแสดงเจตนาให้ผู้อื่นได้รับบำเหน็จ ตกทอดได้เพียง 3 คน ประกาศฉบับใหม่ สามารถมอบฉันทะ ได้ทั้ง 2 ฉบับ ไม่ต้องเขียนยกเลิก ในฉบับเดิม สามารถแสดงเจตนาให้ผู้อื่นได้รับบำเหน็จตกทอด ได้ไม่จำกัดจำนวนคน
หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอดฉบับเดิม มีผล ใช้ได้ต่อไป ทำไว้ก่อนประกาศฉบับนี้ใช้บังคับ ถูกต้องตามประกาศฉบับนี้ ทำไว้ตามประกาศฉบับเดิม 10