ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
Advertisements

แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
Graduate School Khon Kaen University
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
มาตรการการจัดเก็บกุญแจสำรอง
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หมวด2 9 คำถาม.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การบริหาร และการจัดการเพื่อลดความเสี่ยง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
งบประม าณ เงินทุน หมุนเวียนฯ งบบุคลากร ล้านบาท งบดำเนินงาน ล้านบาท ล้านบาท งบบุคลากร 4. 8 ล้านบาท งบดำเนินงาน 619 ล้านบาท
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
กรณีความเสี่ยง DMSc.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ระเบียบวาระการประชุม ณ ห้องประชุมกรมส่งเสริมการเกษตร ชั้น 2
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร

ความเป็นมา PMQA ปี 2552 ในหมวด 6 การจัดการกระบวนการ (PM 4) กำหนด “ให้ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินเพื่อทำให้เชื่อมั่นว่าระบบงานและสถานที่ทำงานมีการเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ ทำให้ไม่สามารถดำเนินงานและให้บริการผู้ใช้บริการได้อย่างต่อเนื่อง”

สภาพชีวิตที่เต็มไปด้วยภัยคุกคาม USA Sep11, 2000 Madrid Bombings March 11,2004 Indonesia Sep9,2004

ภัยคุกคามจากการก่อการร้าย

ภัยคุกคามต่อความปลอดภัย Catastrophic events such as the 9/11 and other terror attacks, the Asian Tsunami, and the Gulf Coast hurricanes in the US have galvanized the world’s attention to finding more effective ways to ensure security and safety. Large-scale events such as these have also highlighted the vulnerability of global supply chains. For example, the disruptions to US oil and refining capacity caused by a single hurricane have had significant worldwide consequences to the cost of energy.

การจัดการกับอุบัติการณ์ การฟื้นฟู การดำเนินการ ระดับของ เวลา การดำเนินการต่อเนื่อง การเตรียมการ การป้องกัน การตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน อุบัติการณ์ 100%

วัตถุประสงค์ ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ การจัดวางระบบเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน แนวทางการปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางเพื่อการกอบกู้ความสามารถของ สมอ.กลับคืนมา และสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สมอ. ประกอบด้วย แผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน : อัคคีภัย แผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง : กระบวนการรับรองผลิตภัณฑ์

แผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน : อัคคีภัย วัตถุประสงค์ เป็นระเบียบปฏิบัติสำหรับทุกคนเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินขึ้นใน สมอ. นโยบาย ช่วยชีวิตและรักษาผู้ที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย ควบคุมให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด ภาวะฉุกเฉิน = เกิดเพลิงไหม้ใน สมอ.

ผู้มีบทบาท TISI-ERT (TISI-Emergency Response Team) คณะตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของ สมอ. ED (Emergency Director) ผู้อำนวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน OC (On Scene Commander) ผู้สั่งการภาวะฉุกเฉิน MC (Mutual Aid Coordinator) ผู้ประสานงาน Fire Chief หัวหน้าชุดปฏิบัติการ Emergency Center ศูนย์ปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน Muster Coordinator ผู้ประสานการรวมพล

การควบคุมและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน แบ่งเป็น 2 ระดับ ภาวะฉุกเฉินระดับที่ 1 เหตุการณ์ไม่ขยายตัวลุกลาม ไม่มีผู้บาดเจ็บ หรือเสียชีวิต หรือ สามารถควบคุมได้ โดย เจ้าหน้าที่ของ สมอ. ภาวะฉุกเฉินระดับที่ 2 เหตุการณ์ที่รุนแรง ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ

TISI-ERT คณะตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของ สมอ. กำหนดโครงสร้างการบังคับบัญชา ประกอบด้วย 4 ชุด ชุดปฏิบัติการ ชุดอำนวยการ ชุดปฐมพยาบาล ชุดอพยพ (ภายใต้แต่ละชุดจะมีทีมงานย่อยในแต่ละเรื่อง)

แนวทางการปฏิบัติในการควบคุมภาวะฉุกเฉิน การประกาศภาวะฉุกเฉิน การควบคุมเหตุฉุกเฉิน การควบคุมความเสียหาย การช่วยชีวิต การปฐมพยาบาล ศูนย์ปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน ห้องผู้สื่อข่าวและห้องแถลงข่าว การปฏิบัติการร่วมกับหน่วยงานภายนอก การประสานงานกับหน่วยงานภายนอก/ภายใน

แผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน : อัคคีภัย การอพยพ ภาระหน้าที่และขั้นตอนการปฏิบัติ ในภาวะฉุกเฉิน

แผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง : กระบวนการรับรองผลิตภัณฑ์ ภารกิจหลักที่สำคัญ 3 ด้าน คือ การกำหนดมาตรฐาน การให้การรับรองผลิตภัณฑ์ และ การส่งเสริมมาตรฐาน

วัตถุประสงค์ แนวทางเพื่อกู้ความสามารถของ สมอ.กลับคืนมา สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง และส่งมอบบริการได้ตามที่ได้ตกลงกันไว้ ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบแนวทางการปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน

การดำเนินการ ระดมความเห็นเพื่อวิเคราะห์ถึงภัยคุกคามต่างๆ และภัยคุกคามที่มีโอกาสจะเกิด ผลกระทบ และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นใน สมอ. สรุปว่าเป็นเหตุการณ์ไฟไหม้ เนื่องจาก เป็นอาคารเก่า สายไฟฟ้าเก่า มีกระดาษ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ มผช. สี และ Solvent ที่อาจเป็นเชื้อเพลิงได้

วิธีการในการจัดทำแผน ชี้บ่งกิจกรรม หรือ การให้บริการที่สำคัญ ได้แก่ การกำหนดมาตรฐาน การออกใบรับรอง/ใบอนุญาต สารสนเทศ เช่น คู่มือผู้ซื้อ มาตรฐานอ้างอิงในห้องสมุด (Business Impact Assessment : BIA Table 1)

วิธีการในการจัดทำแผน ชี้บ่งผลกระทบที่เกิดจากการหยุดชะงัก และพิจารณาความเปลี่ยนแปลงของผลกระทบเมื่อเวลาผ่านไป (Business Impact Assessment Table 2) สรุปว่า การออกใบรับรอง/ใบอนุญาตมีผลกระทบสูงสุด จึงเลือกมาเป็นบริการเป้าหมายที่จัดทำแผนรองรับภาวะฉุกเฉิน

วิธีการในการจัดทำแผน กำหนดช่วงเวลาหยุดชะงักที่ยอมรับได้สูงสุดของกระบวนการออกใบอนุญาต 5 วัน จัดกลุ่มกิจกรรม หรือ กระบวนการ ตามลำดับความสำคัญในการฟื้นคืนกลับมาสู่ระดับปกติ และ ชี้บ่งกิจกรรม หรือ กระบวนการที่สำคัญ

วิธีการในการจัดทำแผน ชี้บ่งสิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่มีผลต่อ กระบวนการออกใบอนุญาต กำหนดเป้าหมายเวลาในการฟื้นคืนกลับมาของกระบวนการออกใบอนุญาต 5 วัน ซึ่งเป็นช่วงเวลาหยุดชะงักที่ยอมรับได้สูงสุด ประมาณการทรัพยากรที่ต้องใช้ในการฟื้นคืนกลับมาของกระบวนการออกใบรับรอง/ใบอนุญาต (BCP Work Sheet)