ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol ตัวอย่าง 1 สารละลายกรด HA เข้มข้น 0.01 mol/dm3 100 cm3 แตกตัวร้อยละ 5 ในสารละลายมี H3O+ เข้มข้นกี่ mol/dm3 และมี H3O+ กี่โมล วิธีที่ 1 คำนวณโดยใช้หลักสมดุล HA + H2O -----> A- + H3O+ เริ่มต้น 0.01 M - เปลี่ยนแปลง -((5x0.01) /100) =0.0005 M +0.0005 M สมดุล 0.0095 M 0.0005 M M=mol/dm3 ดังนั้นความเข้มข้นของ H3O+ = 0.0005 mol/dm3 จากความเข้มข้นของ H3O+ 0.0005 mol/dm3 หมายความว่า สารละลาย 1000 cm3 มี H3O+ 0.0005 mol สารละลาย 100 cm3 มี H3O+ 0.00005 หรือ 5x10-5 mol ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol วิธีที่ 2 คำนวณโดยใช้สูตร ดังนั้นความเข้มข้นของ H3O+ = 0.0005 mol/dm3 จากความเข้มข้นของ H3O+ 0.0005 mol/dm3 หมายความว่า สารละลาย 1000 cm3 มี H3O+ 0.0005 mol สารละลาย 100 cm3 มี H3O+ 0.00005 หรือ 5x10-5 mol ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
ดังนั้นความเข้มข้นของ H3O+ = 2.0x10-7 mol/dm3 ตัวอย่าง 2 ที่อุณหภูมิ 25 ํC ในสารละลายกรด HCN (Ka = 4.0 x 10-10) เข้มข้น 1.0x10-4 mol/l จะมีปริมาณ H3O+ เท่าใด วิธีที่ 1 คำนวณโดยใช้หลักสมดุล HCN + H2O -----> CN- + H3O+ เริ่มต้น 10-4 M - เปลี่ยนแปลง -X M +X M +X M สมดุล 10-4-X M X M เนื่องจาก Ca/Ka> 1000 แสดงว่า 10-4-X ประมาณเท่ากับ 10-4 M=mol/dm3 ดังนั้นความเข้มข้นของ H3O+ = 2.0x10-7 mol/dm3
วิธีที่ 2 คำนวณโดยใช้สูตร ดังนั้นความเข้มข้นของ H3O+ = 2x10-7 mol/dm3
ดังนั้น ร้อยละการแตกตัวของ HA = 1 ตัวอย่าง 3 ดังนั้น ร้อยละการแตกตัวของ HA = 1
ดังนั้นความเข้มข้นของกรดอ่อน HX = 1.6 mol/dm3 ตัวอย่าง 4 ดังนั้นความเข้มข้นของกรดอ่อน HX = 1.6 mol/dm3
ดังนั้นความเข้มข้นของกรด HA = 0.21 mol/dm3 ตัวอย่าง 5 ข้อมูล กรด HA 0.1 M แตกตัว 17% กรด HA ? M แตกตัว 12% เนื่องจากกรดชนิดเดียวกันมีค่า Ka เท่ากันโดยไม่ขึ้นกับความเข้มข้น และจากสมการ (%2.Ca.10-4)กรด 1 = (%2.Ca.10-4)กรด 2 !72x0.1x10-4 = 122xCax10-4 Ca = = 0.21 ดังนั้นความเข้มข้นของกรด HA = 0.21 mol/dm3