Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น มหาวิทยาลัยเนชั่น
Page: 2 1. การทำงานแบบตามลำดับ (Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่าย ที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลง ล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำที ละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไป จนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการ ทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ จะเขียนเป็นผัง งาน (Flowchart) ในแบบตามลำดับ ได้ตามภาพ
Page: 3 แสดงผลทางจอภาพ class x { public static void main(String args[]){ System.out.println("burin"); System.out.println("rujjanapan"); String s = "thaiall"; System.out.println(s + s.length()); }
Page: 4 2. การเลือกกระทำตาม เงื่อนไข (Decision) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะ กระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะ กระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้า ซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลาย ชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือก อย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียง กระบวนการเดียว
Page: 5 เลือกด้วย IF (1/4) class x { public static void main(String args[]){ int x; x = 6; if (x > 5) System.out.println("value:" + x); }
Page: 6 เลือกด้วย IF (2/4) class x { public static void main(String args[]){ int x; x = 6; if (x > 5) { System.out.print("value:"); System.out.print(x); }
Page: 7 เลือกด้วย IF (3/4) class x { public static void main(String args[]){ int x; x = 6; if (x > 5 && x < 10) System.out.println("five to ten"); if (x > 5 || x < 10) System.out.println("all numbers"); if (x > 10) System.out.println("more than 10"); System.out.println(x); }
Page: 8 เลือกด้วย IF (4/4) class x { public static void main(String args[]){ int x = 3; if (x > 5) System.out.println("1"); else { System.out.println("less than 5"); System.out.println("or equal 5"); }
Page: 9 เลือกด้วย SWITCH (1/2) class x { public static void main(String args[]){ byte wow = 3; switch (wow) { case 1: System.out.println("one"); break; case 2: System.out.println("two"); break; case 3: System.out.println("three"); break; }
Page: 10 เลือกด้วย SWITCH (2/2) import java.util.Date; class x { public static void main(String args[]) { byte oho=(byte)(new Date().getTime() % 5); switch (oho) { case 1: System.out.println("one"); break; case 2: System.out.println("two"); break; default: System.out.println("not found" + a); break; }
Page: การทำซ้ำ (Repeation or Loop) การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึง การทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจ ได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการ เขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดง ภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผัง งาน (Flowchart) ผู้เขียนโปรแกรมต้อง จินตนาการ ถึงรูปแบบการทำงาน และ ใช้คำสั่งควบคุมด้วยตนเอง ตัวอย่างผัง งานที่นำมาแสดงนี้เป็นการแสดงคำสั่ง ทำซ้ำ (do while) ซึ่งหมายถึงการทำซ้ำ ในขณะที่เป็นจริง และเลิกการทำซ้ำเมื่อ เงื่อนไขเป็นเท็จ
Page: 12 ทำซ้ำด้วย for (1/2) class x { public static void main(String args[]){ for (int i=0; i<10; i++) { System.out.println(i); } for (int i=9; i>=0; i--) { System.out.println(i); }
Page: 13 ทำซ้ำด้วย for (2/2) class x { public static void main(String args[]){ System.out.println("ASCII :"); for (int i=0; i<256; i++) { //0-255 System.out.print((char)i + " "); } String s = "thaiall"; System.out.println(s + s.length()); }
Page: 14 ทำซ้ำด้วย while (1/2) class x { public static void main(String args[]){ int i; i = 1; while (i <= 5) { System.out.println(i); i++; }
Page: 15 ทำซ้ำด้วย while (2/2) class x { public static void main(String args[]){ int i = 0; do { System.out.println(i); i++; } while (i <= 10); }