วลีรัตน์ พูลผล (วทม.ปรสิตวิทยา) กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร. 7 อบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ไข้เลือดออก ( Denque hemorrhagic fever )
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
VDO conference dengue 1 July 2013.
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
ว่าท่านพ่นสารเคมีแล้วจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การจัดการพาหะนำโรค ในสถานการณ์ปัจจุบัน
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ประเด็นปัญหาสาธารณสุขและแผนงานโครงการ ตำบลห้วยไร่ ปี 2557
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
3. ทีม อสม. สุ่มแลกเปลี่ยนหมู่บ้าน 3 เดือน/ครั้ง
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
กิจกรรม บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วลีรัตน์ พูลผล (วทม.ปรสิตวิทยา) กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร. 7 อบ. มาตราการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก วลีรัตน์ พูลผล (วทม.ปรสิตวิทยา) กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร. 7 อบ. เชื้อ ยุง คน 1

แบ่ง 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ - ยุงที่เป็นพาหะนำโรค - ยุงที่ไม่เป็นพาหะนำโรค ยุง (Mosquitoes) ป.ไทยพบ 19 สกุล 412 ชนิด แบ่ง 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ - ยุงที่เป็นพาหะนำโรค - ยุงที่ไม่เป็นพาหะนำโรค

ครั้งใหม่ จะปล่อยเชื้อ โรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นได้อย่างไร เชื้อไวรัสจะเข้าไปเจริญในยุง แล้วไปอยู่ในต่อมน้ำลาย ยุงลาย (Ae. aegypti, Ae. albopictus) กินเลือดผู้ป่วย ยุงลายกินเลือดคน ครั้งใหม่ จะปล่อยเชื้อ ยุง คน เชื้อไวรัสเดงกี จะอยู่ในกระแสเลือดขณะมีไข้ เชื้อไวรัสเข้าสู่คน อาจเป็นเชื้อ DEN-1 หรือ DEN-2 หรือ DEN-3 หรือ DEN-4 แล้วเพิ่มจำนวนในเซล ป่วย สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก 1

การแพร่เชื้อ Dengue virus ยุงมีเชื้อตลอด 1- 2 เดือน ไวรัสในกระแสโลหิต ระยะฟักตัวในยุง 8 -12 วัน กัดเด็กหรือผู้ใหญ่ คนไข้ ขณะมีไข้สูง ระยะฟักตัวในคน 5 - 8 วัน (3-15 วัน) ที่มา : โรคไข้เลือดออก ฉบับประเกียรณก สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ก.สธ หน้า 8

วิธีการ/ระยะเวลาของโรค ไข้สูง หน้าแดง ไม่มีน้ำมูก ความแม่นยำในการตรวจ เพื่อช่วยวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกเบื้องต้น วิธีการ/ระยะเวลาของโรค ไข้สูง หน้าแดง ไม่มีน้ำมูก tourniquet test วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 sensitivity 73.3 90.5 85.5 53.3 90.6 98.7 specificity 93.3 89.2 87.9 75.8 77.8 74.2 อาจมีผลการตรวจทูนิเกต์ เป็นลบได้ (false negative) ในกรณีที่ 􀁻 กำลังอยู่ในภาวะช็อก 􀁻 ผู้ป่วยอ้วน 􀁻 ผู้ป่วยผอม 􀁻 เมื่อเทคนิคการทำไม่ถูกต้อง (แถบรัดความดันไม่ได้กดบริเวณเส้นโลหิตฝอย) ที่มา : แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออกเดงกี่ กระทรวงสาธารณสุข : หน้า 34 ประวัติการเจ็บป่วย รายละเอียดในการรับการรักษาและผลการรักษา ที่ไหน เมื่อไร กี่ครั้งลงทุกครั้ง

มาตรการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก สร้างระบบเฝ้าระวังโรคให้เข้มแข็งในพื้นที่ - เตรียมคน อุปกรณ์ (สารเคมี, เครื่องพ่น) - การค้นหาและรักษาผู้ป่วยอย่างฉับไว - ระบบรายงาน/สอบสวน/ควบคุมโรค ที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ - เร่งรัดในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 2. สร้างระบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน 2.1 การสนับสนุนการป้องกันโรคไข้เลือดออกผ่านกระบวนการจัดการพาหะนำโรคแบบบูรณาการ (IVM- Integrate vector management) 2.2.การใช้ประชาคม เพื่อสร้างความเข้มแข็งการป้องกันโรค /บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังต่อเนื่อง - รณรงค์กำจัดภาชนะที่มีศักยภาพในการขังน้ำอันจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายใน/นอกบ้าน ชุมชน เช่น สนับสนุนให้มีโครงการบ้านสะอาดน่าอยู่ทุกสัปดาห์หรือทุกเดือน - รวมทั้งสนับสนุนให้หน่วยงานท้องถิ่นเกิดความตระหนักในการเก็บกวาดล้างวัสดุ และกองขยะที่อาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 3. มีระบบติดตามกำกับประเมินผลในพื้นที่

การทดสอบอัตราตายยุงลาย Aedes aegypti และ Ae การทดสอบอัตราตายยุงลาย Aedes aegypti และ Ae. albopictus จากการพ่นเคมีควบคุม ยุงพาหะไข้เลือดออกในพื้นที่ชนบท เพ็ชรบูรณ์ พูลผล วทม. (ปรสิตวิทยา) นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สคร. 7 อบ การศึกษากึ่งทดลองภาคสนามโดยวัดอัตราตายของยุงลาย Aedes aegypti และ Ae.albopictus จากการพ่นเคมีควบคุมยุงพาหะไข้เลือดออกในพื้นที่ชนบท วัดผลกระทบโดยใช้วิธีประเมินผลจากการวัดความหนาแน่นยุงตัวเต็มวัย และวัดอัตราตายของยุงหลังสัมผัสสารเคมีที่พ่น 1 และ 24 ชม. โดยวิธี Bioassay test เป็นดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการพ่นเคมีควบคุม

Bioassay test Indoor : Ae.aegypti Outdoor : Ae.albopictus - Hang: Heigh ~1-1.5 m Outdoor : Ae.albopictus - Hang: Heigh ~1-1.5 m, ~ <25 m from street,~10-15m from house

1.วิธีพ่นแบบ ULV (พ่นฝอยละออง) ตารางที่ 1 อัตราตายยุงทดสอบจากการทำ Bioassay test กับวิธีพ่น ULV หมู่บ้าน Test X ยุง อัตราตาย (%) Ae.aegypti Ae.albopictus Knocked down หลัง 24 ชม. รวม บ.ถ้ำเต่า 6X20 30 (25) 32 (26.6) 62 (51.6) 28 (23.3) 16 (13.3) 44 (36.6) บ.ถ้ำแข้ 10 (8.3) 26 (21.6) 12 (10) 20 (16.6) บ.หัวคำ 4 (3.3) 14 (11.6) 18 (15) 22 (18.36) 42 (35) 18X20 50 (13.8) 56 (15.5) 106 (29.4) 62 (17.2) 56 (15.5) 118 (32.7) (t = -0.329, d.f. = 2 , p-value =0.774) หมายเหตุ : ความเร็ว 8 กม./ชม., อัตราการพ่น 250-300 มล./นาที

ตารางที่ 2 อัตราตายยุงทดสอบจาก Bioassay test กับวิธีพ่น Fogging หมู่บ้าน (หลังคา) Test X ยุง อัตราตาย (%) Ae.aegypti Ae.albopictus Knocked down หลัง 24 ชม. รวม บ.ไหล่ทุ่ง 6X20 42 (35) 38 (31.6) 80 (66.6) 24 (20) 8 (6.6) 30 (25) 22 (18.3) 56 (46.6) 78 (65) 36 (30) 12 (10) 48 (40) บ.ม่วง 26 (21.6) 52 (43.3) 16 (13.3) 54 (45) 18X20 90 (25) 146 (40.5) 236 (65.5) 76 (21.1) 58 (16.1) 132 (36.6) หมายเหตุ : อัตราการพ่น 100-200 มล./บ้าน (30 วินาที/หลัง) ตารางที่ 1 และ2 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 4.422, d.f. = 2, p-value =0.048)

3. การประเมินผลกระทบทางกีฎวิทยา 3. การประเมินผลกระทบทางกีฎวิทยา ตารางที่ 3 ความหนาแน่นยุงในหมู่บ้านที่พ่น ULV หมู่บ้าน (หลังคา) ความหนาแน่นยุง/ชม. ก่อนพ่น หลังพ่น ลดลง (%) บ.ถ้ำเต่า (67) 44 17 61.4 บ.ถ้ำแข้ (129) 35 15 57.1 บ.หัวคำ (122) 46 10 78.3 รวมเฉลี่ย 41.7 14 66.4

จากการเปรียบเทียบความหนาแน่นยุงในหมู่บ้านที่พ่นFoggingและ ULV ความหนาแน่นยุง/ชม. ก่อนพ่น หลังพ่น ลดลง (%) บ.ไหล่ทุ่ง (80) 47 13 72.3 บ.ไหล่ทุ่ง (120) 18 6 66.7 บ.ม่วง (80) 3 83.3 รวม 27.7 7.3 73.5 จากการเปรียบเทียบความหนาแน่นยุงในหมู่บ้านที่พ่นFoggingและ ULV มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t= -4.749, d.f. = 2 , p-value =0.042)

Mortality rate of Ae. aegypti larvae (%) Table 1 Mortality rate of Ae. aegypti larvae exposed to instant sachet temephos 1%SG collected from LAO-Yasothorn Province Exposure Time (hrs.) Mortality rate of Ae. aegypti larvae (%) Yasothorn strain Bora Bora strain Exp-1 Exp-2 24 90 2 100 5 48 12 22 72 36 Average (%) 99.67 12.67 21 t = 21.00, df = 2, p = 0.002 t = 8.81, df =2, p = 0.013 Remark : Exp-1 shaky instant-sachet; Exp-2 dunk instant-sachet

Mortality rate of Ae. aegypti larvae (%) Table 2 Mortality rate of Ae. aegypti larvae to instant sachet temephos 1% SG provider by DDC, Ministry of Public Health Exposure Time (hrs.) Mortality rate of Ae. aegypti larvae (%) Yasothorn strain Bora Bora strain Exp-1 Exp-2 24 92 3 100 5 48 11 72 25 35 Average (%) 97.33 13 21 t = 18.07, df = 2, p = 0.003 t = 8.98, df = 2, p = 0.012 Remark : Exp-1 shaky instant-sachet; Exp-2 dunk instant-sachet

การนับผู้ป่วยรายแรกของเหตุการณ์ หมู่บ้านดาวรุ่ง เหตุการณ์ที่ 2 เหตุการณ์ที่ 3 เหตุการณ์ที่ 1 Onset 8 มิย 56 Onset 10 กค 56 Onset 7 พค 56 > 28 วัน > 28 วัน ผู้ป่วยรายแรกเหตุการณ์ที่ 3 แพทย์ Dx : DF 12 กค 56 ผู้ป่วยรายแรกเหตุการณ์ที่ 1 แพทย์ Dx : DHF 8พค56 ผู้ป่วยรายแรกเหตุการณ์ที่ 2 แพทย์ Dx : DHF 9มิย56 ผู้ป่วยรายที่2 เหตุการณ์ที่ 3 แพทย์ Dx : DF 14 กค 56 Onset 12 กค 56 ไม่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นในช่วง >28 วัน นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายสุดท้าย ของแต่ละเหตุการณ์นับเป็นเหตุการณ์ใหม่

การนับผู้ป่วยรายแรกของเหตุการณ์หมู่บ้านดาวเรือง เหตุการณ์ที่ 1 มี Pt 5 ราย เหตุการณ์ที่ 2 มี Pt 2 ราย วันเริ่มป่วยห่างกัน > 28 วัน (ข) วันวินิจฉัยของผู้ป่วยรายต่อๆไป (11, 13, 24 เมย 56) (ค) ผู้ป่วย รายสุดท้าย ของเหตุการณ์ 1 แพทย์วินิจฉัย ไข้เลือดออก (เริ่มป่วย2พค56) (ง) ผู้ป่วยไข้เลือดออกของ เหตุการณ์ 2 รายแรกเริ่มป่วย 9มิย56 รายที่ 2 เริ่มป่วย 15 มิย 56 (ก) ผู้ป่วยรายแรกที่แพทย์วินิจฉัยไข้เลือด ออก (เริ่มป่วย 7เมย56) ไม่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นในช่วง >28 วัน นับจากวันเริ่มป่วย ของผู้ป่วยรายสุดท้ายของเหตุการณ์ 1 นับเป็นเหตุการณ์ใหม่

การนับผู้ป่วยรายแรกของเหตุการณ์หมู่บ้านดาวเด่น เหตุการณ์ที่ 1 มี Pt 5 ราย เกิดpt gen 2 เหตุการณ์ที่ 2 มี Pt 2 ราย วันเริ่มป่วยห่างกัน > 28 วัน (ข) วันวินิจฉัยของผู้ป่วยรายต่อๆไป (11, 13, 24 เมย 56) (ง) ผู้ป่วยไข้เลือดออกของ เหตุการณ์ 2 รายแรกเริ่มป่วย 9 มิย 56 รายที่ 2 เริ่มป่วย 15 มิย 56 (ค) ผู้ป่วย รายสุดท้าย ของเหตุการณ์ 1 แพทย์วินิจฉัย ไข้เลือดออก (เริ่มป่วย6พค56) (ก) ผู้ป่วยรายแรกที่แพทย์วินิจฉัยไข้เลือด ออก (เริ่มป่วย 7เมย56) ไม่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นในช่วง >28 วัน นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายสุดท้าย ของเหตุการณ์ 1 นับเป็นเหตุการณ์ใหม่ 20

นับ Gen จากวันเริ่มป่วย Pt รายแรก รหัสพื้นที่ 34010145 วันเริ่มป่วย ราย นับ Gen จากวันเริ่มป่วย Pt รายแรก นับเฝ้าระวัง 28 วัน รายสุดท้าย Event 1 17/5/2013 1 14/6/56 Event 2 27/6/2013 2 24/7/56 Event 3 4/8/2013 1/9/56 12/8/2013 8/9/56 15/8/2013 11/9/56 16/8/2013 12/9/56 สรุปพื้นที่ 34010145 มี 3 event 7 มี pt เฉพาะใน Gen 1

นับ Gen จากวันเริ่มป่วย Pt รายแรก รหัสพื้นที่ วันเริ่มป่วย ราย นับ Gen จากวันเริ่มป่วย Pt รายแรก นับเฝ้าระวัง 28 วัน รายสุดท้าย 34010818 16/6/2013 1 14/7/56 Event 1 2/7/2013 29/7/56 8/7/2013 3/8/56 17/7/2013 12/8/56 มี Pt เกิดใน Gen 2 Event 2 14/8/2013 10/9/56 17/8/2013 12/9/56 มี pt เฉพาะใน Gen 1 สรุปพื้นที่ 34010818 มี 2 event 6 เกิด Gen 2 ในevent 1

34010818 16/6/2013 1   2/7/2013 6/7/2013 8/7/2013 17/7/2013 23/7/2013 24/7/2013 30/7/2013 15/8/2013 19/8/2013 22/8/2013 30/8/2013 2/9/2013 11/9/2013 34010818 ผลรวม 14

การควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ เหตุการณ์ 1 กำจัดลูกน้ำและพ่นสารเคมี 9 มิย 56 เริ่ม 24 มิย 56 ต้องไม่มี Pt รายใหม่ 14 วันหลังกำจัดลูกน้ำและพ่นสารเคมีไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ (ก) ผู้ป่วยรายแรกที่แพทย์วินิจฉัยไข้เลือดออก (onset 7 มิย 56)

มาตรฐานความครอบคลุมในการควบคุมแหล่งแพร่โรค ก. รายงานการปฏิบัติงานควบคุมโรค/ รายงานการสอบสวนโรค ข. กำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วย และบริเวณรอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร (ทุกหลัง) และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ที่เกิดโรค หลังจากการควบคุม มีค่า HI = 0 ค. มีการพ่นสารเคมีในบ้านผู้ป่วย และพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร ง. มีการพ่นเคมีอย่างน้อย 2 ครั้งแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน จ. เฝ้าระวังในชุมชน/พื้นที่อย่างน้อย 28 วันนับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายสุดท้ายของเหตุการณ์ 25

เกณฑ์การสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย ควรมีการสุ่มอย่างมีระบบ ตามมาตรฐานของ WHO ดังนี้ จำนวนบ้านที่ต่ำกว่า 100 หลัง ควรสำรวจให้ได้มากที่สุด หรือ ทั้งหมด จำนวนบ้านตั้งแต่ 100-199 หลัง สำรวจ 45 หลังคาเรือน จำนวนบ้านตั้งแต่ 200-299 หลัง สำรวจ 51 หลังคาเรือน จำนวนบ้านตั้งแต่ 300-399 หลัง สำรวจ 54 หลังคาเรือน จำนวนบ้านมากกว่า 400 หลัง สำรวจ 55 หลังคาเรือน ที่มา : World Health Organization. Prevention and Control of Dengue and Dengue Haemorrhagic Fever. Regional Pulbication, SEARO. : New Delhi, 1999.

บ้านผู้ป่วยเลขที่32

บ้านผู้ป่วยรัศมี 100 ม.

สวัสดีค่ะ