การเตรียมแผนตอบโต้ สถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข พ.อ. นพ. คเชนทร์ ปิ่นสุวรรณ กรมแพทย์ทหารบก
เราควรมีแผนตอบโต้สถานการณ์ภัยพิบัติหรือไม่? ถึงมีแผน เมื่อเกิดเหตุจริง ก็ปฏิบัติตามแผนไม่ได้ หรือแผนไม่เหมาะกับสถานการณ์...สุดท้ายก็ไม่ได้ใช้แผน...ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น หน่วยงานต้องมีแผนเฉพาะสำหรับตอบโต้ภัยภิบัติหรือไม่? กระบวนการจัดทำแผนที่มีประสิทธิภาพควรเป็นอย่างไร? เมื่อเกิดเหตุจะปฏิบัติตามแผนได้อย่างไร? ระหว่างที่ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน เราสามารถปฏิบัติงานประจำอยู่ได้หรือไม่?
เราควรมีแผนตอบโต้สถานการณ์ภัยพิบัติหรือไม่? เราตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินอยู่ทุกวันอยู่แล้ว ภัยพิบัติก็แค่เพิ่มเจ้าหน้าที่, อุปกรณ์, เวชภัณฑ์, ฯลฯ ก็รับมือได้แล้ว จะเตรียมให้สิ้นเปลืองทำไม เหตุการณ์แบบนี้ไม่น่าจะเกิดกับเรา งานยุ่ง มีเรื่องจำเป็นต้องรีบทำอยู่ทุกวัน รอไปก่อน งบประมาณมีจำกัด มาเตรียมเรื่องแบบนี้ไม่รู้ว่าเมื่อไหร่จะได้ใช้ เอาไปใช้เรื่องที่เห็นผลเร็วดีกว่า มีเรื่องแบบนี้ด้วยเหรอ...ไม่รู้จะทำอย่างไร???...ไม่มีประสบการณ์
คำตอบ ภัยพิบัติไม่ใช่ภาวะฉุกเฉินขนาดใหญ่, ภัยพิบัติมีลักษณะเฉพาะทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ที่ต้องการยุทธศาสตร์ในการจัดการที่แตกต่างออกไป สถานการณ์ภัยพิบัติเกิดขึ้นได้ทุกที่ ความเสี่ยงมีอยู่ ควรค้นหาและจัดการ แต่ละภัยพิบัติมีเอกลักษณ์ แต่มีลักษณะร่วมเช่นกัน การเตรียมแผนที่เหมาะสมสามารถใช้ได้ การเตรียมแผนมักไม่ได้รับความสนใจ เนื่องจากไม่เห็นความสำคัญ แต่มักจะได้รับการสนับสนุนมากหลังจากเกิดเหตุภัยพิบัติไม่นาน
Preparation/Planning Disaster Cycle Mitigation Preparation/Planning Response Recovery
The Preparedness cycle
มีแผนก็ใช้ไม่ได้...หรือ...ไม่ได้ใช้ แผนไม่ตรงกับเหตุที่เกิดขึ้นจริง??? Planning and Response are Different การวางแผน คือกระบวนการคาดการณ์ว่าจะเกิดเหตุขึ้น และจะใช้มาตรการตอบโต้ที่เหมาะสม คุ้มค่าได้อย่างไร? การตอบโต้ คือการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุจริง ซึ่งอาจจะตรงหรือไม่ตรงกับที่คาดการณ์เอาไว้ในแผน แผนที่มีประสิทธิภาพจะช่วยลดการตอบโต้เหตุที่สับสน วุ่นวายได้ หรือการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่ก่อปัญหาต่อเนื่อง
Paper Plan Syndrome การมีแผนที่เขียนไว้สมบูรณ์ ไม่ได้หมายความว่าได้มีการเตรียมการรับภัยพิบัติแล้ว แผนที่จัดทำเป็นข้อกำหนดที่ต้องมี แต่อย่าคิดว่าได้เตรียมพร้อมแล้ว ยังมีอีกหลายอย่างที่ต้องทำ... กระบวนการจัดทำแผน...สำคัญกว่าแผนที่เขียนออกมา... เพื่อหลีกเลี่ยงการจัดทำแผนที่ไม่สามารถนำมาใช้งานได้ กระบวนการจัดทำแผนควรมีขั้นตอนดังนี้...
Based on valid assumptions about what happens in disasters Based on inter-organizational perspective Accompanied by the provision of resources to carry out the plans Associated with an effective training program so that users are familiar with the plan Acceptable to the end users
Importance of Planning Process Planning process is more important than the written document that result from it Acceptance Legitimate Practical Familiar Personal contacts Role & Responsibility Trust in one another Participant Planning Process
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้แผนปฏิบัติได้ การสนับสนุนจากผู้บริหาร เพื่อให้กระบวนการวางแผนได้รับความสนใจ, ยอมรับ, และร่วมมือจากสมาชิกในองค์กร กระบวนการวางแผนจะต้องได้รับมอบอำนาจ สถานภาพ และการสนับสนุน จากผู้บริหาร การที่ไม่สามารถปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ได้ พบว่ามักเกิดจากความล้มเหลวในการสนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็นในการปฏิบัติ(คน, เวลา, งบประมาณ, เครื่องมือ, สิ่งอุปกรณ์สนับสนุน, สิ่งอำนวยความสะดวก) “you get what you pay” If preparedness efforts are to result in more than paper plans, the planning process must be tied to the resources necessary to carry out the mandate
ERP vs. IAP Emergency Response Plan (ERP): prepared plan to response emergency situation (what to do in emergency situation) Incident Action Plan (IAP): plan for operation to response specific situation and prepared for each operation period
Steps in the Planning Process
ERP Development Process Build the Development Team Provide Organizational Support Establish Team Procedures Gather Information and Identify Alternatives Analyze and Select Alternatives Write the ERP Review and Test ERP Ratify and Approve the ERP
ERP Structure How to activate the plan Command structure Response strategies: Functions Estimate incident’s impact on safety & function: evacuation? List essential information: telephone no. (personnel, agency, resources), communication network Communication plan: Mode, Plan, Network
องค์ประกอบของศูนย์บัญชาการ EOC & ICP Component IC & IC staff Communication network: input, output Situation information & monitor Meeting facility Order & regulation Information : guideline, instruction, SOP, etc.
ผังการสื่อสาร มงกุฎ ปภ. กรม คร., สธ. สคร.๐๑ ๑๔๘.๒๐ ๑๔๘๐๕ ช่อง ๑ VHF ๑๕๒.๑๒๕ ช่อง ๒ VHF ๑๕๒.๑๗๕ สคร.๐๑๑ สคร.๑๐๒ สคร.๐๑๕ สคร.๐๑๓ สคร.๐๑๔
Implementing ERP Implementation Planning Notification Distribution and Accessibility Training Performance Monitoring
Planning Cycle of IAP Incident Action Plan development involves 4 major phases: Set Incident Objective Tactic Meeting Planning Meeting Finalize, Approve, and Implement Incident Action Plan
Incident Action Plan Assess the situation Set the operation period Determine safety priorities & establish control objectives Determine operational period objective Determine strategies & tactics
Incident Action Plan Determine needed resources Issue assignments Implement actions Reassess & adjust plans
Standard Operating Procedure: SOP Complete reference documents that provide the propose, authorities, duration, and details of the preferred method for performing a single function or a number of interrelated functions in a uniform manner. Describe processes Task-specific Based on working experiences (Best practice)
Emergency Response/Operation Plan: ERP/EOP Incident Action Plan: IAP Standard Operating Procedure: SOP
Steps in the Planning Process