ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ประเด็นทางจริยธรรมสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ (Ethical Issues in Quantitative Methodology in Social Research ) ธีรเดช ฉายอรุณ หลักสูตรประชากรศึกษา.
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
มหาวิทยาลัย ต้องการชุด โครงการแบบไหน. น่าจะเริ่มต้นถามว่า ต้องการผลงานแบบไหน จากชุดโครงการวิจัย.
งานวิจัยที่ดี.
Management Information Systems
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
มีลักษณะ 5 ประการที่ผู้ใช้ข้อมูล ข่าวสารควรได้เรียนรู้ 1. ความสามารถที่จำแนกและลด ข่าวสารที่เข้ามาอย่าง รวดเร็ว ว่าจะรับหรือปฏิเสธ 2. ลึกลงไปใต้หลักฐาน.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การพัฒนากระบวนการคิด
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
การจัดกระทำข้อมูล.
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
การวัดผล (Measurement)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Uncertainty of Measurement
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
หลักการแก้ปัญหา
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
Synthetic Analytic (การมองภาพรวม / ใหญ่ โดยเกิดจากการที่เรา (การมองภาพย่อย เกิดจากการที่เราเริ่มรู้สาเหตุ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ ทพญ.อัจฉรา วัฒนาภา

การวิจัยเชิงคุณภาพ มิได้มีความหมายเดียว (Not a single one) การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นวิธีวิทยาในตัวเอง ถูกใช้ในหลายสาขาวิชา และหลายกลุ่มปัญหา ปรัชญาการวิจัย (paradigm) แนวทางการวิจัย (approach) ข้อมูล (data)

ศึกษาในสภาพธรรมชาติ (Natural Setting) ความจริง มีสภาวะเป็นองค์รวม ไม่สามารถเข้าใจได้โดยปราศจากการคำนึงถึงบริบท ทั้งไม่สามารถแบ่งแยกออกมาศึกษาเป็นส่วนๆ นัยหนึ่งก็คือ ความจริงในภาพรวม ไม่เท่ากับการนำความจริงส่วนย่อยๆ มารวมกัน

ความจริงจากความหมายของคนใน EMIC (คนนอก ETIC)

ศึกษาความจริง ในฐานะความจริงที่ถูกสร้าง ศึกษา “ความจริง” ที่คนแต่ละกลุ่ม สร้างขึ้น หรือเชื่อว่าจริง (constructed reality)

เข้าใจ มิใช่วัดและตัดสิน (Understanding not measuring) การวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการทำความเข้าใจปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้ง รอบด้าน ตามความหมายของคนใน ด้วยถือว่า ความหมายของความจริง ไม่มีหนึ่งเดียว (single/ universal) (ตามทีผู้วิจัยเชื่อ หรือ เรียนรู้มา) แต่มีหลากหลาย (multiple /local/ context specific) การวิจัยเชิงคุณภาพ จึงมิใช่การวัด ชี้ถูก ชี้ผิด หรือตัดสิน ปรากฏการณ์

รูปแบบการวิจัย ที่เกิดขึ้น และปรับเปลี่ยนได้ตลอดขณะของการทำงานสนาม (Emerging design)

องค์รวมและบริบท holistic & contextualizing

เน้นการทำความเข้าใจเฉพาะกรณี (Ideographic interpretation)

ใช้การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling)

เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง (On-going process) การวิจัย เชิงคุณภาพ เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกัน จากต้นจนจบ การตั้งคำถามการวิจัย การตัดสินใจเลือกตัวอย่าง (ใหม่) การประมวลและประเมินข้อมูล การสรุปและตีความข้อมูล เป็นกระบวนการที่เกิดต่อเนื่อง ตั้งแต่ คำถามแรก และต่อเนื่องไป จนถึงสิ้นสุดการเขียนรายงาน และต่อเนื่องไปยังการวิจัย ครั้งต่อไป

ใช้เวลาในสนาม Prolonged engagement

เครื่องมือสำคัญคือ ตัวนักวิจัย

นักวิจัยต้องเปิดเผยตัวตน Qualitative design incorporates room for description of the role of the researcher as well as description of the researcher’s own biases and ideological preferences.

คำนึงถึงจริยธรรม คุณค่าความเป็นมนุษย์ Qualitative design incorporates informed consent decisions and is responsive to ethical concerns.

ประเด็นถกเถียงสำคัญ

ความเชื่อถือได้ ไม่ใช่เรื่องความแม่นตรงหรือถูกผิดแต่เป็นสิ่งที่น่าเชื่อถือได้หรือไม่ Not reliable/valid but trustworthiness การตรวจสอบสามเส้า (Triangulation)

ความเป็นตัวแทน (representativeness) ไม่มีสิ่งที่เรียกว่าตัวแทน เนื่องจากความจริงมีหลากหลาย และ กำหนดโดยบริบท แต่ความจริงหนึ่งสามารถเรียนรู้เพื่อประยุกต์เทียบเคียง ในบริบทที่คล้ายคลึง

การนำไปใช้ที่อื่น (Generalizability) ปฎิเสธความเชื่อเรื่องความจริงพ้นบริบท แต่เชื่อว่า transferable

ไม่เชื่อเรื่อง สภาวะปราศจากอคติว่าเกิดขึ้นจริง อคติ (Bias) ไม่เชื่อเรื่อง สภาวะปราศจากอคติว่าเกิดขึ้นจริง งานวิจัยทุกชนิดล้วนมีอคติหรือฐานคติรองรับ ทางออกคือระวัดระวังและเปิดเผยอคตินั้น

ทฤษฎีในการวิจัยเชิงคุณภาพ ทฤษฎีกำหนดกระบวนการทั้งหมด (คำถาม ออกแบบ เก็บข้อมูล ตีความ รายงาน) แต่ทฤษฎีควรมีในฐานะเครื่องมือนำ มิใช่ความจริงที่จะนำไปพิสูจน์

อิทธิพลของวิธีคิดในการวิจัย

เวลาและจำนวนตัวอย่าง ขึ้นกับคำถามการวิจัยและความซับซ้อนของปรากฏการณ์ (เทียบกับทักษะและประสบการณ์ผู้วิจัย) หลัก คือ กลับไปหาปรัชญาพื้นฐาน (ธรรมชาติ ความจริง) แล้วประยุกต์กับ ความเป็นจริง (practicality) สำคัญที่สุด คือ การตระหนักรู้ในธรรมชาติและข้อจำกัด/ข้อเด่น ในญานวิทยา/วิธีวิทยาที่ใช้

Major/selected reference Denzin & Lincoln 1994 Handbook on Qualitative Research รศ. ดร. ลือชัย ศรีเงินยวง (2551) powerpointประกอบการสอนการวิจัยเชิงคุณภาพ. มหาวิทยาลัยมหิดล.