เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
หลักสำคัญในการล้างมือ
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคทูลารีเมีย (Tularemial)
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
สารเมลามีน.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
ยินดีต้อนรับ.
เรื่อง การติดเชื้อรา Aspergillosis เนื่องจากเชื้อ Aspergillus
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
Tuberculosis วัณโรค.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
การใช้ Chromogenic medium ในการวินิจฉัยเชื้อ Candida spp. จากผิวหนัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
Nipah virus.
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
Q Fever. Holly Deyo, URL:
Happy Valentine’s Day. Z 2  เฉลียว ฉลาด  ตัดสินใจเด็ดเดี่ยว  เหมาะที่จะเป็นหัวหน้า 3.
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด โดย นางสาวนุร์ฮาซีกิน ฮูลูดอรอฮิง รหัส 404652072

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเชื้อ Aeromonas hydrophila เป็นเชื้อที่อยู่ใน Family Vibrionaceae รูปร่างของเชื้อ - เป็นแบคทีเรียแกรมลบ - รูปร่างเป็นแท่งสั้นตรง - ขนาดความยาวโดยทั่วไปประมาณ 1.0-1.5 ไมครอน - เคลื่อนที่โดยใช้ Flagellum

รูปร่างของเชื้อ ต่อ - ไม่สร้างสปอร์ - ไม่มีแคปซูล - ลักษณะโคโลนีมีลักษณะกลม ผิวเรียบ ตรงกลางโค้งนูน สีขาวนวล

คุณสมบัติทางชีวเคมีของเชื้อ เจริญได้ดีในอาหารเลี้ยงเชื้อทั่วไป สามารถใช้สารอินทรีย์เป็นแหล่งอาหาร เจริญได้ในสภาพที่มีและไม่มีออกซิเจน สามารถเปลี่ยนไนเตรดให้เป็นไนไตรได้ เจริญได้ในช่วงอุณหภูมิตั้งแต่ 0-45 องศา แต่ที่เหมาะสมคือ 25-30 องศา ช่วง pH 5.5-9.0

การแพร่กระจายของเชื้อ พบได้ทั่วโลก ส่วนใหญ่พบในปลาน้ำจืดโดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งที่มีปริมาณสารอินทรีย์มาก , น้ำทิ้งจากแหล่งชุมชน

การระบาทของโรค ซึ่งเกิดจาก ปลาบอบช้ำจากการขนส่ง มีบาดแผลตามผิวหนังและเหงือกเนื่องจากปรสิต ออกซิเจนที่ละลายในน้ำต่ำเกินไปเป็นเวลานานๆ การปนเปื้อนของสารพิษ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสาเหตุโน้มนำที่ทำให้ปลาอ่อนแอและเครียด ทำให้ปลาติดเชื้อได้ง่าย

กลไกการเกิดโรค เป็นการติดเชื้อในระบบภาในลำตัว โดยมีลำดับการเกิดดรคดั้งนี้ เชื้อจะเข้าทางปากหรือทางผิวหนัง เหงือกที่เป็นแผล เชื้อจะเพิ่มจำนวนภายในร่างกาย เชื้อจะแพร่เข้าสู่กระแสเลือด ปลาเกิดโรค

อาการของโรค อาการรุนแรงเฉียบพลัน อาการรุนแรงแบบเฉียบพลันที่มีลักษณะท้องมาน บวมน้ำ แบบเป็นแผลเป็นเรื้อรังตามตัว แบบไม่แสดงอาการทั้งภายนอกและภายใน

การวินิจฉัยโรค สามารถตรวจเพาะแยกเชื้อได้จากปลาที่ปรากฏอาการติดเชื้อ - โดยทำการเพาะแยกเชื้อจากแผลและอวัยวะเป้าหมาย ทำการเพาะเชื้อโยการ streak บนอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดต่างๆ เช่น

การวินิจฉัยโรค ต่อ - Trypticase soy agar - อาหารเลี้ยงเชื้อธรรมดา - RS medium - Trypticase soy agar - อาหารเลี้ยงเชื้อธรรมดา บ่มไว้ที่อุณหภูมิ 35-37 องศา นาน 18-24 ชั่วโมง

การรักษาและการควบคุมโรค ใช้ oxytetracycline ผสมในอาหารในอัตรา 55 มิลลิกรัม/ปลา 1 กิโลกรัม/วัน เป็นเวลา 10 วัน หรืออาจใช้สารเคมีอื่นๆเช่น sulfamerazine, choramphenicol , furanace

ขอขอบคุณ อาจารย์ และ เพื่อนๆทุกคน จบการรายงาน ขอขอบคุณ อาจารย์ และ เพื่อนๆทุกคน